Page 279 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 279
211
ความคดิ ของเรากเ็ หมอื นกนั ทเี่ ราบอกวา่ บางทนี งั่ กรรมฐานมคี วามคดิ ขนึ้ มา ไปรปู้ บุ๊ ดบั ปบ๊ึ ดบั ปบ๊ึ ดับปึ๊บ รู้สึกสบายจังเลย... บัลลังก์ต่อมาพอมีความคิดขึ้นมา ไปดูปุ๊บมันหยุดนิ่ง ทาไมไม่ดับสักทีหนึ่ง! สักพัก ค่อย ๆ ขยับค่อย ๆ ถอยออกไป... แบบนี้ก็มี แล้วเราก็รู้สึกว่าสงสัยสติไม่ดีแล้วเขาดับช้ากว่าเดิม นี่คือลักษณะความไม่เที่ยงของความคิด เขาเรียกลักษณะความเป็นอนิจจังความแปรปรวนเปลี่ยนไป “ลักษณะอาการเกิดดับ” ที่ต่างไปเปลี่ยนไป ไม่ใช่ความคิดเรื่องที่ต่างไป ความคิดเรื่องเดียวกันแต่ลักษณะ อาการเกิดดับต่างกัน จุดนี้แหละที่โยคีจะต้องใส่ใจว่าลักษณะอาการเกิดดับเปลี่ยนไปอย่างไร
ที่เราเห็นดับเร็วดับช้านี่ เขาเรียก “เห็นหนึ่งขณะ” คือแว็บดับ “เห็นสองขณะ” คือค่อย ๆ แว็บ แล้ว ดับไป “เห็นสามขณะ” เห็นผุดขึ้นมาแล้วค่อย ๆ ดับไป นี่คือเห็นลักษณะอาการเกิดดับ ส่วนเห็นหนึ่งขณะ สองขณะ (หรือสามขณะ)นี่หมายถึงว่าจุดเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บางทีเห็นแต่ดับ ดับ ดับ ตอนเกิดไม่ทัน แต่เห็นเขาดับ ดับ... อย่างเดียว บางทีตอนดับไม่เห็น เห็นแต่ผุดใหม่ ผุดใหม่... เกิดขึ้นอย่างเดียว อันนี้ก็ คือลักษณะอาการเกิดดับที่เปลี่ยนไป เห็นแต่เกิดอย่างเดียวก็ไม่ผิด เห็นแต่ดับอย่างเดียวก็ไม่ผิด เห็นตั้ง อยู่อย่างเดียวก็ไม่ผิด เพราะถ้าสติขนาดนั้นเขาก็เป็นอย่างนั้น ถ้าไม่ผิดแล้วเราควรทาอย่างไร ?
การพัฒนาสติ-สมาธิ-ปัญญาให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นต้องใส่ใจ บัลลังก์นี้เราเห็นแบบนี้ แล้วต่อไปเขาเป็น อย่างไร นั่นคือหน้าที่ของโยคีที่จะต้องเข้าไปรู้ให้ต่อเนื่องเพื่อพัฒนาสติ-สมาธิ-ปัญญาของเราให้มากขึ้น ถ้าจะให้ดีก็คือว่าพยายามที่จะกาหนดรู้อย่างไม่มีตัวตนรู้ด้วยจิตที่ว่างเบาไม่มีเรามีแตส่ติ(เจตนาของเรา คือตัวสติ) สมาธิ ปัญญา มีเจตนาเข้าไปรู้ว่าอาการเหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร ตรงนี้ต้องมี เจตนา สังเกตไหมว่า สติสัมปชัญญะจะดีเมื่อมีเจตนาที่จะรู้ ถ้าไม่มีเจตนาที่จะรู้ อารมณ์ที่เกิดขึ้นชัดเจน ไหม ? ไม่ว่าอะไรก็ตามจะไม่ค่อยชัด
พระพทุ ธเจา้ จงึ ตรสั วา่ ไมม่ ใี ครหหู นวกเทา่ กบั คนไมอ่ ยากฟงั ไมม่ ใี ครตาบอดเทา่ กบั คนไมอ่ ยากดู เพราะฉะนั้น มีเจตนาที่จะรู้ ก็จะรู้ชัด มีเจตนาที่จะดู การเห็นก็ชัด แต่จะชัดแบบไหนนั่นอีกเรื่องหนึ่ง ใน การปฏิบัติเราเจริญสติแต่ไม่มีเจตนา ถามว่า สติเราจะเป็นยังไง เจริญไหม ? ก็ไม่เจริญ ไม่มีเจตนาสติจะ พัฒนาได้ยังไง ? ถ้าไม่มีเจตนาที่จะรู้ ปัญญาที่เกิดขึ้นก็ไม่ชัด เพราะการเห็น(สภาวะ)ไม่ชัด เมื่อการเห็น สภาวะไมช่ ดั เราจะเขา้ ใจถกู ตอ้ งไหม ? นคี่ อื เปน็ ตวั สา คญั วา่ ทา ไมเวลาปฏบิ ตั ธิ รรมเราตอ้ งเจรญิ สตมิ ากขนึ้ ใส่ใจสนใจจดจ่อกับอาการมากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะสภาวธรรมเขาละเอียดมากขึ้นเรื่อย ๆ นั่นเอง ยังมีสภาวะ ที่ละเอียดมากกว่านั้น
หลกั ของวปิ สั สนา คอื เกาะตดิ กบั อาการ พจิ ารณาอาการพระไตรลกั ษณท์ กุ ๆ ขณะ แมแ้ ตต่ วั จติ เอง เราก็ยังต้องสังเกตว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้ดับด้วยไหม คือ “ตัวเอง” ดับด้วยไหม เราเห็นแต่คนอื่นตายแต่เราไม่ เคยเหน็ ตวั เองตาย... ถา้ เหน็ กจ็ บกนั แลว้ ไมไ่ ดม้ านงั่ อยนู่ หี่ รอกนะ พระพทุ ธเจา้ ถามภกิ ษุ เคยระลกึ ถงึ ความ ตายบ้างไหม มรณานุสติหรือระลึกถึงความตาย บางรูปก็ระลึกถึงทุกวันวันละครั้ง ตื่นเช้าขึ้นมาก็ระลึกถึง ความตาย โชคดีแล้วที่เราตื่นขึ้นมายังไม่ตาย หรือก่อนนอนก็ระลึกถึงความตาย การหลับไปถือว่าตาย ตื่น ขึ้นมาถือว่ามีชีวิตอยู่ บางรูปก็ระลึกนึกถึงเช้า-เที่ยง-เย็น แต่พระองค์ระลึกถึงทุก ๆ ขณะจิต