Page 289 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 289
221
ทันเอง เดี๋ยวก็ทันเอง เขาเปรียบเทียบแบบนั้น อีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เปรียบเทียบเหมือนลิงนี่นะ มันซน มัน กระโดดไปเรื่อย ๆ เดี๋ยวไปต้นไม้ต้นโน้น ต้นนี้ วิ่งไปโน่นไปนี่ ถ้าสติคือเชือกที่คล้องคอเอาไว้ กระโดดไป ไหนมันก็ตาม ตามไป ๆ ๆ สักพักมันก็วนรอบหลักเอง แล้วก็จะสั้นลง ๆ ๆ แล้วก็มาอยู่ตรงนี้เอง
ไม่ต้องไปกังวลว่า...ทาไม ไม่ต้องหงุดหงิด แต่มีสติคอยกากับรู้ต่อเนื่องไป ทีนี้พอเรามีเจตนาที่ จะรู้ มีเจตนาที่จะเจาะสภาวะ พอเรารู้ว่า ความคิดนี้ เกิดตาแหน่งนี้มาเรื่อย ๆ นิ่ง...แล้วไปรู้จุดเกิดของ ความคิด ไปดูจุดเกิด สังเกตพอความคิดจะผุดขึ้นมา เราก็เข้าไปรู้ ผุดขึ้นมาก็รู้ ผุดขึ้นมาเข้าไปที่จุด เกิด ๆ ๆ ของความคิดใหม่ พอไปรู้จุดเกิดของความคิดเรื่อย ๆ เดี๋ยวก็ทัน ไปทันจุดเกิด ก็จะเห็นการดับ ชัดขึ้น พอทันมากขึ้น ๆ เดี๋ยวเขาก็หยุด ๆ
ทีนี้บางทีอาจจะไม่มันขนาดนี้ ก็หยุดก่อนก็ได้ บางครั้งนี่นะ พอความคิดเกิดขึ้นมา โยคีว่า...มาเลย ฉันจะดู เอาซิ...มาเลย พอคาท้าแค่นั้นแหละเขาไม่กล้ามา พอไม่ท้า ไม่สนใจ มาเต็มไปหมด ความคิดเยอะ แยะมากมาย แต่พอตั้งใจจะดูปึ๊บ เขาหยุดเงียบไป แต่พอเผลอมาอีกแล้ว สังเกตไหมว่า ตอนที่เราเผลอ เราไปรับรู้อะไร ถ้าเรามีสติเมื่อไหร่ ความคิดก็ดับ มีสติเมื่อไหร่เขาก็หยุด แต่พอเผลอสติไม่ใส่ใจ เขาก็มา เพราะฉะนั้น ไม่ใช่เรื่องใหญ่ที่เราจะดับไม่ได้ แค่ใส่ใจ มีสติคอยกากับ คอยรู้แค่นั้นเอง
ความคิดเขาเกิดดับโดยปกติของเขา พอรู้ทันก็หยุด รู้ทันก็หยุด พอไม่ใส่ใจ เผลอไป ก็ไหลตามเขา ชวนเราออกไป ชวนเราไป เราก็ไปตามเขาแค่นั้นเอง ไม่ใช่ว่าดับไม่ได้นะ เพราะความคิดเขาเกิดดับ ทาไม ถึงเป็นอย่างนั้น ประเด็นก็คือว่า เมื่อวานที่เราบอกว่า การที่เราแยกรูปแยกนาม แยกกายแยกจิต แยกจิต กับจิตได้นี่แหละ คือตัวสาคัญของการยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ทาให้เป็นคนละส่วนกัน ทาให้จิตกับความคิด แยกส่วนกัน จะเห็นการเกิดดับของความคิดได้ง่าย ของอารมณ์เหล่านั้นได้ง่าย แต่ถ้าเมื่อไหร่เป็นส่วน เดียวกัน เขาจะไหลตามอารมณ์เสียเป็นส่วนใหญ่ เขาจะไหลตามอารมณ์นั้นเป็นส่วนเดียวกัน เกิดขึ้นมา แล้วก็ปรุงแต่งต่อไป
เพราะฉะนั้น เอาความคิดมาเป็นอารมณ์ในการเจาะสภาวะนี่นะ วิธีอีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เมื่อความ คิดเกิดขึ้นมา เราสนใจอาการเกิดดับของความคิด ความคิดดับแบบนี้ ดับไป ๆ หรือความคิดขึ้นมา แล้ว ก็หยุดทันที ดับทันที หรือค่อย ๆ จาง หายไป ๆ สั้นลง เล็กลงน้อยลง อันนั้นคือการเข้าไปรู้อาการเกิดดับ ของความคิด ตรงนั้นคือการเจาะสภาวะ แล้วอย่างที่บอกว่า เขาดับแป๊บ แล้วเกลี้ยงไปเลย ดับแล้วเงียบ ไปเลย ความคิดนี้ดับ แล้วเงียบไปเลย
จากทเี่ ราเคยคดิ ถงึ ยกตวั อยา่ ง จากทเี่ ราเคยคดิ ถงึ อะไร บางเรอื่ งคดิ แลว้ รสู้ กึ ไมส่ บายใจ ความคดิ หยุดไปแล้ว แต่ความไม่สบายใจยังค้างอยู่ อันนี้เขาเรียกว่ามีเศษอารมณ์ มีรสชาติของอารมณ์อยู่ แต่พอ เรากาหนดดับ เห็นอาการเกิดดับมากขึ้น ชัดขึ้น ความคิดขึ้นมานี่นะ ดับปึ๊บ รสชาติความไม่สบายใจก็หาย ไปดว้ ย เกลยี้ งไปเลย เหลอื แตค่ วามคดิ อยา่ งเดยี ว พอรสชาตคิ วามทกุ ขห์ ายไป ไมม่ ตี วั ตน พอคดิ ขนึ้ มาใหม่ มันเหลือแต่ความคิดที่เกิดในที่ว่าง ๆ ไม่มีรสชาติไม่มีเศษอารมณ์ ไม่มีเชื้ออยู่ มันก็ไม่ได้ปรุงแต่งต่อ เกิด แล้วดับไป หายไป