Page 645 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 645

577
(หรือเป็นผลดี)อย่างไร และการกระทาในปัจจุบันจะส่งผลต่ออนาคตให้เป็นทุกข์อย่างไรหรือดีอย่างไร พิจารณาว่าเป็นทุกข์หรือเป็นผลดีอย่างไรในที่นี้(หมายถึง)ทั้งในปัจจุบันชาติและอนาคตชาติ
เพราะฉะนั้น พอเห็นการปรุงแต่งของตัวเองเกิดขึ้นมา กําลังปรุงแต่งละนะ รู้ว่าปรุงแต่ง แล้วมีสติ เข้าไปกาหนดรู้ถึงอาการปรุงแต่งหรือตัวจิตสังขารตัวนั้น มีเจตนาเข้าไปรู้ว่าอาการปรุงแต่งนั้นปรุงแต่งแล้ว ดบั อยา่ งไร ปรงุ แตง่ แลว้ ดบั อยา่ งไร... ไมต่ อ้ งไปปรงุ แตง่ ตอ่ ไมค่ ลอ้ ยตาม ตรงนคี้ อื มเี จตนาทจี่ ะรอู้ าการเกดิ ดับของการปรุงแต่งอันนั้น ไม่คล้อยตาม เพราะตอนที่ปรุงแต่งก็เผลอคล้อยตามไปแล้วชั่วระยะหนึ่ง เมื่อ รู้สึกตัว ควรพิจารณากาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปอย่างหนึ่ง อีกอย่างหนึ่งก็พิจารณาถึงประโยชน์ หรือไม่ใช่ประโยชน์ในการปรุงแต่งอันนั้น พิจารณาควบคู่กันไป
แต่ตามหลักการเจริญวิปัสสนากรรมฐานแล้ว ให้มีเจตนาที่จะเข้าไปรู้ถึงอาการเกิดดับให้มากที่สุด ไม่ว่าการปรุงแต่งนั้นจะเป็นกุศลหรืออกุศลก็ตาม เพื่อเป็นการละ เป็นการคลาย ไม่ให้ไหลตามอารมณ์นั้น ยาวนานเกนิ ไป เปน็ การเหน็ อาการเกดิ ดบั ของรปู นามใหช้ ดั ทสี่ ดุ เพอื่ ทจี่ ะคลายอปุ าทาน เพอื่ ทจี่ ะชา ระจติ ใจ ให้ผ่องใสให้สะอาดให้มีความตงั้มั่นให้เปน็อสิระมากขึ้นเร็วทสีุ่ดเท่าทจี่ะเป็นไปได้(ที่สดุแล้ว)ก็เพื่อความ ดบั ทกุ ขน์ นั่ เอง เพราะฉะนนั้ การทเี่ ราพจิ ารณาอาการในลกั ษณะอยา่ งนี้ มเี จตนาทจี่ ะรอู้ าการพระไตรลกั ษณ์ รู้อาการเกิดดับเป็นสาคัญ ตรงนี้จะไม่มีการปรุงแต่ง จิตก็จะเป็นกลางโดยปริยาย
เป็นกลางแบบไหน ? เราให้ค่าเท่ากันหมดกับทุก ๆ อารมณ์ แต่ไม่ใช่ห้ามมีความสุข ไม่ใช่ห้าม อุเบกขา แต่ให้พิจารณาถึงการเกิดดับเป็นสาคัญ เพราะทุกอย่างตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ คือการเกิด ขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป การเห็นอาการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปนั้นความสุขจะเกิดขึ้นเองโดยปริยาย ความสุขเกิด ขึ้นได้อย่างไร ? เมื่อจิตคลายอุปาทาน จิตมีความผ่องใส ปีติสุขก็เกิดขึ้นโดยปริยายเช่นเดียวกัน ยิ่งรู้(ถึง อาการเกิดดับ)มากเท่าไหร่ ความสุขก็ยิ่งประณีต ความไม่คลุกคลีในอารมณ์ก็ยิ่งชัดขึ้น เมื่อไม่คลุกคลี ในอารมณ์ที่ปรากฏขึ้นมา จิตจะเริ่มสงบ ว่าง ละอารมณ์ได้ง่ายขึ้น เร็วขึ้น
การเข้าไปรู้อาการเกิดดับอาการพระไตรลักษณ์เป็นวิธีการที่จะเข้าสู่ปรมัตถ์ได้เร็วที่สุด อารมณ์ ปรมัตถ์เป็นอารมณ์ที่ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยโลภะ โทสะ โมหะ แต่เป็นอารมณ์ที่แสดงถึงกฎของไตรลักษณ์ อยู่ตลอดเวลา เพราะอารมณ์ปรมัตถ์เป็นอารมณ์ที่ละเอียดเขาจะเกิดดับเร็ว ไม่ว่าจะเป็นรูปปรมัตถ์หรือ นามปรมัตถ์ จะมีลักษณะเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป... แสดงอาการ พระไตรลกั ษณต์ ลอดเวลา ยงิ่ เกดิ ดบั เรว็ ...การปรงุ แตง่ กน็ อ้ ยลง ถา้ ดบั ชา้ ...การปรงุ แตง่ กม็ าก การทเี่ ราปรงุ แต่งยาวก็เหมือนการสร้างภพชาติต่อไปเรื่อย ๆ ยิ่งดับเร็วก็จะเป็นการตัดภพชาติให้สั้นลง ทาให้จิตเราเกิด ความสงบ มีความอิสระมากขึ้นเรื่อย ๆ
เพราะฉะนั้น ในการเจริญวิปัสสนาจึงให้พอใจที่จะเข้าไปกาหนดรู้ทุก ๆ อารมณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อกี้พูด ถงึ อารมณห์ ลกั ๆ ทจี่ ะปรากฏขนึ้ มาใหเ้ ราไดพ้ จิ ารณา อยา่ งเชน่ อาการของลมหายใจ อาการพองยบุ อาการ ของความคิด... ความคิดคืออะไร ? ความคิดก็คือเรื่องของจิต จิตกาลังคิดโน่นคิดนี่ ที่บอกว่าดูจิตในจิต เรารู้ในลักษณะอย่างไร ? บางครั้งเราดูจิต สังเกตว่าจิตตอนนี้เฉย ๆ จิตตอนนี้ว่าง ๆ จิตตอนนี้คิดมาก จิต


































































































   643   644   645   646   647