Page 676 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 676
608
ปฏิบัติธรรมเพ่ือพัฒนาจิต
ณ ศูนย์วิปัสสนายุวพุทธฯ เฉลิมพระเกียรติ (ศูนย์ ๒) จ.ปทุมธานี วันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เวทนา...แลว้ ตอ่ ดว้ ย...จติ พดู เรอ่ื งของจติ นดิ หนง่ึ นะ เพราะวา่ เราปฏบิ ตั ธิ รรม เรามาเจรญิ กรรมฐาน สังเกตไหมว่า เราปฏิบัติธรรมเพื่ออะไร เพื่อพัฒนาจิต เพื่อชาระจิต ๆ พัฒนาไปในทางไหน จิตเราก็มี การพัฒนาที่ทาให้จิตมีสติ มีความตั้งมั่น มีความมั่นคง มีความเข้มแข็ง มีความผ่องใส มีความเบิกบาน มีความอิสระ อิสระจากเคร่ืองพันธนาการ ด้วยโลภะ โทสะ โมหะ และ พัฒนาไปเพื่อความอิสระ
อกี อยา่ งหนงึ่ ทนี .้ี ..พดู ถงึ การดจู ติ ถา้ พดู ถงึ จติ แลว้ ลกั ษณะของสภาพจติ อยา่ งหนง่ึ กค็ อื วา่ โดยปกติ ใ น ช วี ติ ข อ ง เ ร า น นี ่ ะ เ ร า จ ะ ป ฏ บิ ตั หิ ร อื ไ ม ป่ ฏ บิ ตั ิ ห ร อื ไ ม ป่ ฏ บิ ตั กิ ต็ า ม เ ว ล า ม คี ว า ม ท กุ ข เ์ ก ดิ ข นึ ้ ม า เ ว ล า ม คี ว า ม ทุกข์ใจ ไม่สบายใจเกิดขึ้นมา เราก็ยังเรียกว่าทุกข์อยู่นะ ใจมันเป็นทุกข์ ใจไม่สบาย ใจตรงน้ันเรียกว่าอะไร เ ป น็ จ ติ ไ ห ม ? ใ จ ก ค็ อื จ ติ ต วั เ ด ยี ว ก นั น นั ่ แ ห ล ะ จ ติ . . . ใ จ แ ต เ่ ร า เ ร ยี ก ร ว ม ก นั ภ า ษ า เ ร า ก ค็ อื จ ติ ใ จ ไ ม ด่ เี ล ย ว นั น ี ้ จติ ใจไมด่ เี ลย เปน็ อยา่ งไร มนั หววิ ๆ แหง้ แลง้ หอ่ เหยี่ ว ขนุ่ ๆ มวั ๆ ซมึ ๆ นนั่ นะ นคี่ อื ลกั ษณะของสภาพจติ
เวลามีผัสสะกระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ขึ้นมา ถ้ามีผัสสะที่เป็นฝ่ายอกุศล ดี ที่เกิดข้ึน มากระทบทางตา หู จมูก ล้ิน กายใจ ไม่ดีสาหรับเรานะ อาจจะดีสาหรับคนอื่นก็ได้ คนอื่นเห็นว่าดีเขาก็ จึงทา แต่เรารับแล้วรู้สึกไม่ดีเลย ความรู้สึกเมื่อมีผัสสะท่ีไม่ดีเกิดข้ึนมาแล้ว ถ้าเม่ือไหร่ก็ตาม ที่เรารู้สึก ไม่ดีกับอารมณ์ที่เข้ามากระทบ รู้สึกไม่ดีกับอารมณ์เข้ามากระทบ จิตใจรู้สึกเป็นอย่างไร ไม่ดี ไม่สบาย ตรงไม่สบาย เรียกว่า เป็นทุกข์ นี่คือถึงไม่ปฏิบัติก็รู้สึกได้ทันที
ในชีวิตประจาวันของเรา เพราะสิ่งเหล่านี้ จิตแบบน้ี มีผัสสะแบบน้ีข้ึนมานี่แหละ สติหรือจิตท่ีทา หน้าที่รับรู้อารมณ์เหล่านั้น รับรู้ด้วยจิตประเภทไหน ปัญหาของเรา ปัญหาสังคม ปัญหาของเราจึงวุ่นวาย โลกของเราวุ่นวาย เพราะว่า บางทีเราใช้จิตที่เป็นอกุศล จิตที่เร่าร้อน จิตที่เป็นทุกข์ ในการรับรู้อารมณ์ ท่ี เข้ามากระทบทางทวารท้ัง ๖ ทางอารมณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นมา จึงบอกว่า ถึงไม่ปฏิบัติก็รู้ได้ว่าจิตเป็นอย่างไร ถึงไม่ปฏิบัติก็รู้ได้ว่าจิตเป็นทุกข์ ถึงไม่ปฏิบัติก็รู้ได้ว่าจิตเป็นสุข เห็นไหม นี่คือลักษณะ ตรงน้ีหมายถึงว่า นี่คือธรรมชาติของจิต