Page 729 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 729

661
และสภาพทางกาย อาการทางกายหรืออาการของรูปเป็นอย่างไร พอจิตแยกกับกาย ถ้าเราเห็น ว่าจิตกับกายแยกจากกัน จิตเบา หนึ่ง เห็นจิตกับกายแยกส่วนกัน จิตรู้สึกว่าง รู้สึกเบา รู้สึกโล่ง ถ้ามา สารวจดูที่กายหรือที่รูป ถ้าเห็นเป็นคนละส่วนกันก็จะเห็นได้ว่า ที่กายหรือที่รูปมีน้าหนักหรือว่าเบา ๆ เช่น เดียวกัน ตรงนี้ที่บอกว่ากายเบาจิตเบา จริง ๆ แล้วเกิดจากจิตเบากายก็เบา แต่ภาษาที่เราใช้ กายเบาจิตเบา เพื่อคล้องจอง จริง ๆ ถ้าจิตเบากายก็เบา จิตว่างกายก็เบา กายเราเบาด้วยจิตที่ว่าง ว่างจากตัวตนเป็น การแยกส่วนกัน ตรงนี้ถ้าบางทีตัวเราเล็ก ถ้าจิตไม่ว่างก็ยังหนัก น้าหนักเราน้อย ตัวเล็ก ๆ แต่เวลาจิตไม่ ว่างก็จะมีความหนัก มีน้าหนักถ่วงอยู่ คือความไม่สบายใจหรือความทุกข์เกิดขึ้น รูปนี้ก็หนักเช่นเดียวกัน รูปก็หนัก
แต่เพราะฉะนั้นการแยกกายแยกจิตเรานี่นะ พอเห็นกายกับจิตแยกกัน จิตรู้สึกอย่างไร ที่ถามว่า รู้สึกอย่างไรนี่คือ การดูจิต การพิจารณาดูจิต สภาพจิต ทาให้สภาพจิตใจจากที่มีความหนัก จิตก็เปลี่ยน เป็นสงบขึ้นหรือเบาขึ้น โล่งขึ้น ทีนี้ความโล่งตรงนี้ ปัญญาในการพิจารณาเอง การดูสภาพจิตก็คือว่า เมื่อ ทาให้จิตกับกายแยกจากกันแล้ว รู้สึกโล่งขึ้น รู้สึกเบาขึ้น ก็ไปดูจิตที่เบาขึ้นแล้ว จิตที่โล่งขึ้นแล้ว คือการดู สภาพจิต
พอยิ่งดูเข้าไปในจิตที่ว่างโล่งนี่นะ ถ้าเราไม่รู้ว่าจิตที่ว่างโล่ง หรือถ้าเราไม่พิจารณาว่า จิตที่ว่าง จิต ที่โล่ง จิตที่เบามีขอบเขตหรือกว้างแค่ไหน ถ้าไม่พิจารณาอย่างนี้ เราก็รู้สึกแค่ว่ามันเบา ๆ โล่ง ๆ บริเวณ หทยวัตถุ ส่วนใหญ่ก็คือบริเวณรูป บริเวณหทยวัตถุ เพราะอะไร เพราะบริเวณหทยวัตถุ หรือบริเวณรูป เป็นที่อาศัยเกิดของจิต โดยทั่วไปเราก็จะรู้สึกแบบนี้ ตาแหน่งนี้...โดยส่วนใหญ่ เพราะอะไร เวลามีผัสสะ เกิดขึ้นมาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นอารมณ์ที่ทาให้ทุกข์หรือสุข เราจะปรากฏชัดบริเวณหทยวัตถุเรา เพราะนั่นเป็นที่จิต บางทีเขาเรียกว่าเป็นที่ฐานของจิต เป็นที่อาศัยเกิดของจิต
แตถ่ า้ เราพจิ ารณาวา่ จติ ทวี่ า่ งจติ ทเี่ บามขี อบเขตไหม กวา้ งแคไ่ หน คอื มคี า ถามแบบนนี้ นี่ ะ ทา ใหเ้ รา สารวจดูจิตที่ว่างที่เบา จิตที่ว่างเบากว้างแค่ไหน เข้าไปรู้จากข้างในนี่แหละ เข้าไปรู้จากข้างในแล้วสารวจไป เรื่อย ๆ ขอบเขตของความว่างเบา จากข้างในและสารวจออกมา เหมือนเราเข้ามาในห้อง ยืนอยู่กลางห้อง แลว้ มองดรู อบ ๆ หอ้ ง วา่ หอ้ งนกี้ วา้ งแคไ่ หน จติ ทเี่ บาของเรา จติ ทวี่ า่ งเบา การเขา้ ไปดใู นจติ ทวี่ า่ งเบา เขา้ ไป ดูจิตที่ว่างเบา ไม่ใช่เข้าไปหาอะไรอย่างเดียว บางครั้งเข้าไปยืนที่ตรงกลางความว่างเบา แล้วก็มองแค่รูปตัว เรานิดเดียว ความกว้างรอบ ๆ เราก็ไม่เห็น แต่ถ้าเราเข้าไปรู้จิตที่ว่างเบา เหมือนเข้ามาในห้อง แล้วสารวจว่า ห้องนี้กว้างแค่ไหน ห้องนี้กว้างแค่ไหน มันก็จะเป็นความว่างนั้นกว้างแค่ไหน มีขอบเขตไหม
ขณะทเี่ ราเหน็ วา่ จติ ทวี่ า่ งเบากวา้ งออกไป ๆ กวา้ งกวา่ ตวั กวา้ งกวา่ ตวั เมอื่ ไหรก่ ก็ ลายเปน็ บรรยากาศ เพราะฉะนนั้ จงึ เปน็ บรรยกาศของสภาพจติ จติ ทวี่ า่ งเบากวา้ งออกไปกลายเปน็ บรรยากาศ เปน็ บรรยากาศของ สภาพจิต นั่นคือสภาพจิตกับบรรยากาศ หรือเป็นอันดียวกัน เป็นอันเดียวกัน เพราะฉะนั้นบรรยากาศของ สภาพจิตตรงนี้ ที่จริงถ้าเราพิจารณาอีกก็คือว่า สภาพจิต จิตที่มีสภาพว่างและเบา อันนี้คือทีละขั้นตอนนะ จิตที่ว่างเบาแล้ว มีสภาพอย่างนี้ จิตที่ว่างที่เบาและกว้างนี่นะ สามารถทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ได้ไหม


































































































   727   728   729   730   731