Page 39 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 39
559
อยากให้ความสุขเราอยู่นาน แค่พอใจในความไม่ทุกข์ของตัวเอง เมื่อไหร่ดูแล้วมันไม่ทุกข์ก็พอใจใน ความไม่ทุกข์ของตัวเอง เมื่อไหร่ที่เราพอใจในความไม่ทุกข์ ความสุขก็จะเกิดขึ้น
ถา้ นา ไปปฏบิ ตั นิ ไี่ ดจ้ ะเปน็ การดมี ากเลยนะ เอาไปใชก้ บั ชวี ติ ธรรมะใชแ้ บบสนกุ ๆ สบาย ๆ มคี วาม สุขกับการใช้ธรรมะของตัวเอง ไม่ใช่แบบพอจะใช้ธรรมะแล้วเครียด ไม่ได้นะ! ขอให้ใช้อย่างมีความสุข เติมความสุขให้ตัวเอง เพิ่มความสงบให้ตัวเอง ทาจิตให้ว่าง ให้กว้าง... เวลาไม่ตื่นตัว ก็เพิ่มความตื่นตัว เขา้ ไป; เหน็ อะไรแลว้ รสู้ กึ ใจไมม่ นั่ คง เพมิ่ ความหนกั แนน่ มนั่ คงเขา้ ไป; เมอื่ รสู้ กึ วา่ ตอ้ งไปรบั รอู้ ารมณท์ ตี่ อ้ ง ใชค้ วามเขม้ แขง็ กท็ า จติ ใหว้ า่ งใหก้ วา้ ง เพมิ่ ความมนั่ คงใหต้ วั เอง แลว้ เอาจติ ทมี่ นั่ คงแลว้ ไปรบั รอู้ ารมณเ์ หลา่ นั้น... ทาแบบนี้ ให้ทาเป็นเรื่องปกตินะ ทาเป็นเรื่องปกติ
ธรรมะกับชีวิตของเราเป็นของคู่กัน เพราะว่าจริง ๆ แล้วที่นั่งอยู่นี่คือก้อนของธรรม เชื่อไหมว่า ตัวที่นั่งอยู่นี่เป็นก้อนของธรรมะ... เพราะอะไร ? เพราะเป็นอาการของขันธ์ห้า พระพุทธเจ้าพูดถึงอะไร ? พระพุทธเจ้าพูดถึง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ขันธ์ห้าคือตัวนี้นี่แหละ แยกกันออกเป็น รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ คือรูปร่างกายของคนเรานี่แหละ ชีวิตอันนี้แยกออกมาเป็นขันธ์ห้า เพราะฉะนั้น เราจะไปที่ไหนธรรมะก็ตามเราเสมอ เราจะมองให้เป็นธรรมหรือจะมองเป็นอะไร ? บางทีเราไม่ได้มองให้ เป็นธรรม มองแค่เป็นคน เป็นเรา เป็นเขาไป ไม่ได้เป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้น เมื่อเราเห็นความเป็นคน เป็น เรา เป็นเขา ความทุกข์ก็เกิดขึ้นง่าย
เพราะฉะนั้น เราต้องมองแบบพระพุทธเจ้า มองให้เป็นสภาวธรรม อันนี้เป็นรูปขันธ์นะ อันนี้เป็น สัญญาขันธ์ อันนี้สังขารขันธ์ ความคิดเกิดขึ้นมากับจิตมันคนละส่วนกัน... สังเกตแบบนี้บ่อย ๆ ทบทวน บอ่ ย ๆ เรากเ็ หมอื นเปดิ ตา ราอา่ นหนงั สอื รปู นามขนั ธห์ า้ ของเราเปน็ หนงั สอื เลม่ ใหญท่ ลี่ กึ ซงึ้ มาก ๆ ใครอา่ น หนังสือเล่มนี้จบก็อาจจะจบพรหมจรรย์เลยก็ได้นะ คือออกจากวัฏสงสารไปเลย หลุดพ้นไปเลย มีความ สุข มีความอิสระ นี่คือธรรมะที่เกิดขึ้นมา ขอฝากเอาไว้ จงคิดเสมอว่าธรรมะไม่ใช่เรื่องยาก ธรรมะเป็นสิ่ง สาคัญกับชีวิต ธรรมะคือสิ่งที่มีค่ากับชีวิต ระลึกเอาไว้ให้มาก สติ-สมาธิ-ปัญญาของเรานั่นแหละคือหัวใจ ของธรรมะ แล้วสภาวธรรมอย่างอื่นที่ละเอียดก็จะตามมา
ขอให้มีสติ มีสมาธิ มีปัญญาในการรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ให้ชัดเจนในแต่ละเรื่องแต่ละอย่างที่เกิดขึ้น ถ้าทาอย่างนี้เดี๋ยวความรู้ความเข้าใจในธรรมก็จะเกิดขึ้น และเจตนาในการรับรู้มีอยู่สองอย่าง หนึ่ง-รู้เรื่อง ราวทเี่ กดิ ขนึ้ ดว้ ยสต-ิ สมาธ-ิ ปญั ญาของเรา สอง-รถู้ งึ ลกั ษณะการเกดิ ดบั ของอารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ อยา่ งเชน่ เวลา เราคิด รู้เรื่องราวนั้น ๆ ว่ากาลังคิดอะไรอยู่ อีกอย่างหนึ่งรู้ว่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นมาเกิดแล้วดับอย่างไร อันนี้ เลือกใช้ให้เหมาะ ถ้าต้องการจัดการใช้ประโยชน์ ก็พิจารณาเรื่องราวอันนั้นว่าดีอย่างไร พิจารณาด้วยเหตุ ด้วยผลของเรา แต่ถ้าต้องการเพื่อที่จะละเพื่อที่จะเข้าสู่ความสงบความอิสระทางจิตเราให้เร็วขึ้นหน่อย ก็ ไปรู้อาการเกิดดับของอารมณ์นั้น ๆ แทน
เพราะฉะนั้น ขอฝากเอาไว้ เรามาปฏิบัติธรรมคอร์สนี้ ซึ่งเป็นคอร์สในช่วงวันขึ้นปีใหม่ของไทย เหมือนกับเราปฏิบัติธรรมข้ามปี ต่อไปก็เริ่มต้นปีใหม่ด้วยจิตที่ผ่องใส จิตที่เป็นบุญ จิตที่เป็นกุศล เราให้