Page 187 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 187
ว่าสภาวธรรมที่เกิดขึ้น/อาการทางขันธ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ก็เป็นไปตามเหตุ ปัจจัยของตนเท่านั้น... แล้วอีกอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นคืออะไร ? เมื่อมีขันธ์ ทั้งห้า ก็มีอายตนะทั้งหก เขาเรียกมีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เมื่อมีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ—รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ก็เกิดขึ้นเป็น เรอื่ งปกตธิ รรมดา เปน็ ปจั จยั ซงึ่ กนั และกนั ถา้ มอี ายตนะทงั้ หกแลว้ อารมณ์ ทั้งหกย่อมเกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติธรรมดา เพราะเป็นของคู่กัน แต่อารมณ์ ทั้งหกและอายตนะทั้งหกก็ไม่ได้เป็นเราเป็นของเรา เป็นแค่สิ่งที่เกิดขึ้น/ เป็นอายตนะที่เกิดขึ้นตามเหตุตามปัจจัย เป็นไปตามขันธ์ที่กาลังปรากฏ เกิดขึ้นอยู่
ทีนี้การที่พูดในลักษณะอย่างนี้เป็นการเอาสภาวธรรมเป็นที่ตั้ง ไม่ได้พูดถึงความเป็นคนเป็นตัวตนเป็นเราเป็นเขา แต่พูดถึงความเป็น สภาวธรรมที่เป็นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนือง ๆ คาว่า “เอาธรรมะเป็น ที่ตั้ง” นี่แหละที่จะเป็นเป้าหมายเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้ความทุกข์นั้นดับไป เปน็ การละทกุ ข์ เพราะนนั่ คอื สจั ธรรมความจรงิ ถามวา่ หา้ มอะไรเกดิ ? ไม่ ได้ห้ามอะไรเกิด ไม่ได้บังคับอะไร เพราะทุกอย่างก็เกิดดับตามธรรมชาติ ของตนของตนอยู่ตรงนั้น พิจารณาให้เห็นชัดเจนแจ่มแจ้ง แล้วเราจะเป็น อิสระจากโลภะ โทสะ โมหะ จะไม่ถูกโมหะครอบงา
แม้การพิจารณาแค่เพียงว่าขันธ์ทั้งห้าเป็นคนละส่วนกันอย่าง ชัดเจน จิตใจก็ผ่องใสได้แล้ว ถึงแม้อาการพระไตรลักษณ์/การเกิดดับยัง ไม่ชัดนัก แต่รู้เมื่อไหร่ก็เห็นถึงความเป็นคนละส่วน... “รู้เมื่อไหร่” ในที่นี้ หมายถึงว่าอะไร ? หมายถึงว่า พอคิดขึ้นมา ก็เห็นว่าความคิดกับจิตที่ทา หน้าที่รู้หรือความรู้สึกหรือใจรู้ เป็นคนละส่วนกัน, พอได้ยินเสียงขึ้นมา เสียงกับจิตที่ทาหน้าที่รู้ก็เป็นคนละส่วนกัน, มีความปวดเกิดขึ้นมา ความ
183