Page 32 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 32
28
ความหลุดพ้นนั่นเอง
ขอให้เราน้อมจิต สงบ แล้วก็รับพลานุภาพแห่งองค์สมเด็จ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ หอ่ หมุ้ ตวั เรา คลมุ ทงั้ รปู นามอนั นี้ ทงั้ บรเิ วณนใี้ หเ้ ตม็ เมอื่ พลานภุ าพขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เตม็ ความรสู้ กึ เรา เตม็ ทงั้ จติ เรา กแ็ ผใ่ หก้ วา้ งออกไปไมม่ ขี อบเขตไมม่ ปี ระมาณ แลว้ ลองพจิ ารณา ทบทวนสภาวธรรมทเี่ ราปฏบิ ตั มิ า เรอื่ งของรปู นามขนั ธห์ า้ เรอื่ งอาการพระ ไตรลักษณ์ การเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป เราได้เห็นตามที่พระองค์ทรงตรัสไว้ แล้วหรือไม่ เรามีความชัดเจนแจ่มแจ้งในธรรมที่พระองค์ทรงแสดงมาก นอ้ ยแคไ่ หน ถงึ ความเปน็ ลกั ษณะของความทกุ ข์ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ ถึงความดับทุกข์ การที่เห็นว่าทุกข์ดับสิ้นไปแล้วนั้นเป็นอย่างไร
นคี่ อื การพจิ ารณาธรรมทพี่ ระองคท์ รงตรสั รู้ คอื ตรสั รเู้ รอื่ งสจั ธรรม ความจริงสี่อย่าง - เรื่องของทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ข้อปฏิบัติถึงความ ดับทุกข์ และรู้ว่าทุกข์สิ้นแล้ว ลองดูสิว่า เมื่อทุกข์ดับไปสภาพจิตเป็น อย่างไร ? ไม่ใช่ทุกข์ดับไปแล้วเป็นแค่อุเบกขาอย่างเดียว ทุกข์ดับไปแล้ว ไม่รู้ว่าเป็นอย่างไร เมื่อทุกข์ดับ ความผ่องใส ความสุขอันประณีตที่เรียก ว่า “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” นั้นเป็นอย่างไร ? ลองพิจารณาดูความผ่องใส แห่งจิตนั้น ไม่ใช่ดับทุกข์ สุขไม่เกิด นั่นแหละคือสิ่งที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ โดยสภาวธรรมเอง ไม่ใช่เพราะเราอยากให้สุข แต่เป็นเพราะจิตอิสระ
จิตที่พ้นจากทุกข์นั้นเป็นอย่างไร ? จิตที่ความทุกข์ดับไปนั้นเป็น อย่างไร ? จิตที่สะอาด จิตที่บริสุทธิ์ จิตที่ผ่องใสนั้นเป็นอย่างไร ? นี่แหละ คือการปฏิบัติบูชา พิจารณาถึงสภาวธรรมจริง ๆ ที่เกิดขึ้น ขอให้เรา พิจารณา อาจารย์จะหยุดใช้เสียง ให้เราพิจารณาทบทวนถึงธรรมะ