Page 6 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 6

2
ไม่ละเมิดก็คือศีลทั้งห้าข้อ คนเราจะกระทาบาปทากรรมได้อยู่สามทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ เพราะฉะนั้น การไม่ทาบาปทั้งปวง คือ การงดเว้นซึ่งการกระทาที่เป็นบาปเป็นอกุศล ที่จะอาศัยกรรมทั้งสามทาง นี้ “กุสะลัสสูปะสัมปะทา - การทากุศลให้ถึงพร้อม” ก็เหมือนกันนั่นแหละ สรุปแล้วจากกุศลกรรมบถ ๑๐ ก็เหลือการทากุศลให้ถึงพร้อมสามอย่าง คือการให้ทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนา
อีกอย่างหนึ่งคือ “การชาระจิตของตนให้ขาวรอบ” การชาระจิต ของตนให้ขาวรอบนี่เป็นธรรมะสูงสุด เป็นสิ่งสาคัญที่เราชาวพุทธควร น้อมเข้ามาใส่ใจของเรา น้อมธรรมะมาปฏิบัติขัดเกลาจิตใจของเราให้ขาว ให้สะอาดให้หมดจด หมดจดจากอกุศล หมดจดจากความทุกข์ทั้งหลาย การทาจิตให้ขาวรอบตรงนี้เป็นสิ่งสาคัญ ต้องอาศัยการบาเพ็ญเพียร คือ ก า ร เ จ ร ญิ ส ต ิ ส ม า ธ ิ ป ญั ญ า เ ท า่ น นั ้ ท จี ่ ะ ท า ใ ห จ้ ติ ข อ ง เ ร า ข า ว ร อ บ ห ร อื ผ อ่ ง ใ ส ได้ อันนี้คือจุดสาคัญที่เราชาวพุทธควรจะน้อมนาเข้ามาใส่ใจของเรา มา ประพฤติปฏิบัติธรรมให้มีให้เกิดขึ้นกับจิตใจของเรา เราจะได้มีความสุข
และธรรมสามอย่างนี้เป็นคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย แสดงว่าพระพุทธเจ้าพระองค์ใดอุบัติขึ้นมาตรัสรู้ในโลกก็ย่อมสอนเรื่อง การไม่ทาบาปทั้งปวง การทากุศลให้ถึงพร้อม การชาระจิตของตนให้ ขาวรอบ เพราะฉะนั้น เราจะเกิดอีกกี่ภพกี่ชาติ จะเกิดในยุคพระพุทธเจ้า พระองค์ใดก็ตาม ก็ยังมารับคาสอนแบบนี้ พระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ว่า ไม่ว่าพระพุทธเจ้าองค์ใดจะอุบัติเกิดขึ้นในโลกในยุคไหนก็ตาม ก็เกิดขึ้น มาเพื่อตรัสรู้เรื่องทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ข้อปฏิบัติถึงความดับทุกข์ เพราะ ฉะนั้น นี่คือสิ่งสาคัญ


































































































   4   5   6   7   8