Page 61 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 61
เรียก “มโนกรรม” ก็จะส่งผลถึงกายกรรมวจีกรรมต่อไป
ผัสสะที่เข้ามากระทบทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทาง ใจนั้น บางครั้งเราไม่สามารถรู้เท่าทันจุดเกิดของอารมณ์นั้นได้ ถ้าไม่ได้ กาหนดรู้อย่างต่อเนื่อง หรืออยู่กับอารมณ์นั้นอย่างต่อเนื่องอยู่เนือง ๆ เพราะนั่นคืออารมณ์ภายนอก เหมือนเป็นอารมณ์จร เหมือนเป็นวิบากที่ ปรากฏขึ้นมา บางครั้งอยู่ ๆ ก็ปรากฏชัด ตึ้ง! ขึ้นมา บางทีก็ทาให้เราตกใจ ซึ่งเรื่องแบบนี้บางทีเราไม่ได้เตรียมตัวไว้ก่อนว่าอารมณ์เหล่านี้จะเกิดขึ้น แต่การที่เรามีสติคอยกาหนดรู้อยู่ในสภาพจิตเรา ดูจิตของเรา ดูอารมณ์ ภายในอยู่เนือง ๆ เมื่อมีผัสสะปรากฏ ตึ้ง! ขึ้นมา จิตรับรู้เสร็จสรรพ เรียบร้อย มีเวทนาเกิดขึ้นแล้ว จิตที่ไปรับรู้ถึงเวทนานั้นเป็นจิตประเภท ไหนที่เกิดขึ้น - เป็นโทสะ เป็นโมหะ เป็นโลภะ ?
มอี ารมณป์ รากฏ ตงึ้ ! ขนึ้ มา ไมพ่ อใจกบั ผสั สะทเี่ ขา้ มากระทบ นนั่ หมายถึงว่ามีโทสะเกิดขึ้นแล้ว มีปฏิฆะเกิดขึ้น มีความขัดเคืองเกิดขึ้น... แล้วเราจะรู้อย่างไร ? การที่มีสติคอยกากับคอยกาหนดรู้อยู่กับปัจจุบันนี่ แหละ จะรู้ทันว่าเมื่อมีผัสสะกระทบ ตึ้ง! ขึ้นมา มีอาการสะดุ้ง มีเวทนา เกดิ ขนึ้ มา แลว้ กม็ าดจู ติ ตวั เอง รชู้ ดั วา่ จติ ทรี่ บั รนู้ นั้ รบั รดู้ ว้ ยความขดั เคอื ง หรือรับรู้ด้วยความสงบ รับรู้ด้วยความนิ่ง... การสังเกตการพิจารณาแบบ นี้เราจะรู้เท่าทันอารมณ์ของตัวเอง เขาเรียก “รู้เท่าทันอารมณ์ที่จะเกิดขึ้น” ว่าอารมณ์ภายในที่เกิดขึ้นนั้นอาศัยกิเลสตัวไหนเป็นผู้ผลักดันให้เกิดขึ้น มา...
หรือว่าพอรู้เท่าทันแล้ว แทนที่จะเป็นอกุศล เป็นโลภะ โทสะ หรือ โมหะเกิดขึ้น กลายเป็นปัญญา มีสติมีปัญญาคอยกากับควบคุมจิตที่รับรู้
57