Page 244 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 244
226
ฉะนั้น เป้าหมายของการปฏิบัติจึงเป็นสิ่งสาคัญ ถ้าเรารู้อย่างนี้ เรา จะแยกได้ง่าย และเมื่อย้อนกลับไปถึงว่าพระพุทธเจ้าสอนเราเรื่องอะไร ไม่ว่า พระพุทธเจ้าพระองค์ใดอุบัติขึ้นมา ก็สอนแต่เรื่อง “ทุกข์” กับ “การดับทุกข์” เพราะฉะนนั้ ถา้ เราปฏบิ ตั ติ ามคา สอนพระพทุ ธเจา้ เราเจรญิ รอยตามพระพทุ ธ เจ้า ก็ต้องมีเป้าหมายตรงนี้ มีเจตนาที่จะ “เป็นไปเพื่อความดับทุกข์” แล้วถ้า เรารู้ว่าเป็นไปเพื่อความดับทุกข์เมื่อไหร่ เราจะรู้ว่าทาอย่างไรความทุกข์เรา ถึงจะหายไปได้ ถ้าเราปฏิบัติตามคาสอนพระพุทธเจ้าแล้วความทุกข์เราดับ ไปได้ นั่นคือเราทาถูกแล้ว
ทีนี้การกาหนดอารมณ์ก็เหมือนกัน ที่บอกว่าให้มีสติรู้อยู่กับปัจจุบัน การกาหนดรู้สติปัฏฐาน ๔ ดูกายในกาย เวทนาในเวทนา ดูจิตในจิต และ ดูธรรมในธรรมนั้น บางครั้งเรารู้สึกว่ามีเราสติรู้ตัวทั่วพร้อมอยู่ในกายตลอด เวลา เราสามารถดูสภาพจิตเราได้ด้วยไหม ? เมื่อมีสติอยู่ในกายตลอดเวลา แล้วสภาพจิตใจเราเป็นอย่างไร ? อันนี้เราต้องมาสังเกต อันนี้สาคัญเพราะ มีผลต่อจิตของเรา ไม่ใช่ไปยึดกาย แต่มีสติอยู่ในกายเพื่ออะไร ? อันนี้อย่าง หนึ่งนะ
การที่เรามีสติไปในกายทุก ๆ ขณะ ในอิริยาบถต่าง ๆ ถ้าใช้ใน อิริยาบถย่อย ก็สังเกตดูอาการของกายเราที่มีการเคลื่อนไหวไป แต่ถ้าเราจะ รู้อาการพระไตรลักษณ์ นอกจากตามรู้อาการของกายในกายแล้ว รู้อะไร ? ก็ไปรู้ลักษณะของความไม่เที่ยง หรือลักษณะอาการพระไตรลักษณ์ของกาย นั่นเอง ลักษณะที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอยู่เนือง ๆ เพราะฉะนั้น อารมณ์ ทเี่ป็นธรรมชาติทเี่กิดดบัเปลี่ยนแปลงอยตู่ลอดเวลาโดยทเี่ราไมต่อ้งพยายาม ไปสร้างก็คือ อาการของลมหายใจเข้าออก หรืออาการของพองยุบ หรืออาการ เต้นของหัวใจ
แต่ในขณะเดียวกัน ถ้าใครเจริญกรรมฐานแล้วรู้สึกว่ารูปหายไป ตัว หายไป แล้วเราจะรู้กายที่ไหน ? กายส่วนไหนจะปรากฏ ? สังเกตดู อาการ