Page 43 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การปรับอินทรีย์
P. 43

295
เอาชนะกิเลสตัวเองได้ ที่เขาเรียกว่า ตัวนิวรณ์เป็นตัวกิเลสตัวหนึ่ง ตัวกิเลสคืออะไร กิเลสคือความขุ่นมัว คอื ความเศรา้ หมองของจติ เพราะฉะนนั้ มผี สั สะขนึ้ มา มตี รงนเี้ กดิ ขนึ้ ...มคี วามไมพ่ อใจ ความขนุ่ มวั ความ เศร้าหมองก็เกิดขึ้น
เพราะฉะนนั้ การละการขนุ่ มวั การเศรา้ หมองนนี่ ะ เกดิ ขนึ้ ได้ นนั่ คอื การทเี่ ราสามารถเอาชนะอารมณ์ ที่ไม่ดี อันที่จริงแล้ว ที่พูดมาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น กามฉันทะ พยาปาทะ สิ่งที่ทาให้เกิดขึ้น คือความขุ่นมัว เศรา้ หมองของจติ ทา ใหจ้ ติ เราไมผ่ อ่ งใส เพราะฉะนนั้ การทหี่ มนั่ พจิ ารณาแบบนี้ จะแยกไดช้ ดั มากขนึ้ แลว้ ยิ่งจิตผ่องใส จิตสงบ มีความตั้งมั่น เวลาอาการ หรืออารมณ์เหล่านี้เกิดขึ้นแล้ว รู้ได้เร็วเท่าไหร่ก็ดับได้เร็ว เท่านั้น เพราะอะไร เพราะเริ่มเกิดนิดหนึ่ง นิดหนึ่งก็รู้ แล้วก็ดับไป พอเจตนาที่จะดับ ก็จะดับง่ายขึ้น
ของเล็กก็ดับง่าย ของใหญ่ก็ละยาก ถ้าเราไม่ใส่ใจ เพลิดเพลินไปกับเขา จนเขาเกิดขึ้นมาแน่นจน เตม็ หนา้ อกเลย มคี วามทกุ ขท์ งั้ หมด มคี วามขนุ่ มวั มคี วามขนุ่ มวั ครอบคลมุ คลมุ ทงั้ กาย คลมุ รปู นที้ งั้ หมด เต็มไปด้วยอารมณ์ของความขุ่นมัว ตรงนั้นเขาจะทาให้ช้านิดหนึ่ง แต่ไม่ว่าจะเกิดมากแค่ไหน สิ่งที่เราต้อง ทาในเบื้องต้น คือละความรู้สึกว่าเป็นเรา ดับความรู้สึกว่าเป็นเรา แล้วแผ่จิต ส่งจิตไปไกล ๆ ทาจิตให้กว้าง ให้กว้างไม่มีขอบเขต อารมณ์เหล่านั้นจะดับได้เร็วขึ้น อารมณ์เหล่านั้นจะดับได้เร็วขึ้น นิวรณ์นั้นก็จะดับไป
การกาหนดอย่างต่อเนื่อง สติ สมาธิ มีปัญญาแก่กล้าขึ้น นิวรณ์ต่าง ๆ จะไม่เข้ามา ไม่ครอบงา ลักษณะอย่างไรที่เรารู้สึกว่านิวรณ์ไม่เกิดขึ้น คือจิตมีความตั้งมั่น มีความผ่องใส มีความตื่นตัว มีความ มนั่ คง มคี วามเขม้ แขง็ มคี วามเดด็ ขาด ขณะนนั้ แหละนวิ รณต์ า่ ง ๆ ไมส่ ามารถครอบงา จติ ใจได้ เพราะฉะนนั้ การที่เรากาหนดรู้อาการเกิดดับ ของอารมณ์ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นการละนิวรณ์ตรงนี้ไปด้วยในตัว
ทีนี้นิวรณ์อีกอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้น อย่างที่บอกตอนแรกว่า บางครั้งเรานั่งแล้ว...เกิดความง่วง เกิด ความซึม ที่ให้แยกก็คือว่า บางครั้งถ้าเราปฏิบัติจะเห็นว่า บางทีรู้สึกว่ารูปเขาหลับ รูปไม่ตื่นตัว แต่จิตยังทา หนา้ ที่ เหมอื นมสี ตติ ามรอู้ ยตู่ ลอดเวลา แตก่ เ็ ปน็ การรแู้ บบไมต่ นื่ ตวั ไมผ่ อ่ งใส ไมก่ ระฉบั กระเฉง รแู้ ตเ่ บา ๆ เรื่อย ๆ ไป เบาไป ๆ อาการก็เกิดเบา ๆ จิตไม่ตื่นตัวเต็มที่ อันนี้ก็อย่างหนึ่ง อันนี้ต้องสังเกตว่า อาการที่ เกิดขึ้นนั้น เกิดจากรูปหรือเกิดจากจิต อันนี้สาคัญ
ถ้าเรารู้เป็นอาการทางจิต เกิดจากจิตที่มีความสงบ มีสมาธิมากเกินไป มีสมาธิมากเกิน...ทาอย่างไร บางครงั้ กต็ อ้ งลมื ตา อยา่ หลบั ตาอยา่ งเดยี ว ลมื ตาขนึ้ มามองขา้ งหนา้ อนั นอี้ ยา่ งหนงึ่ อกี จดุ หนงึ่ กค็ อื วา่ พอเปน็ แบบนนั้ ใหร้ วู้ า่ ตอนนเี้ รากา ลงั กา หนดอะไรอยู่ ตอนนกี้ า ลงั กา หนดอะไรอยู่ รอู้ าการเกดิ ดบั ของอะไร รอู้ าการ เกดิ ดบั ของเสยี ง รอู้ าการเกดิ ดบั ทปี่ รากฏอยขู่ า้ งหนา้ ในทวี่ า่ ง ๆ รอู้ าการเกดิ ดบั ของอาการทไี่ หว ๆ รอู้ าการ เกิดดับของเสียง ที่ดังอยู่ไกล ๆ แว็บ ๆ ๆ รู้อาการเปลี่ยนแปลงของความสงบ หรือดูสภาพจิตเพลินอยู่
อันนี้ ถ้าเรารู้แบบนี้ปื๊บ ถ้าเราดูสภาพจิตเพลิน ๆ แล้วความง่วงเกิดขึ้นมา แสดงว่าเพลินตรงนั้น เพลินกับอะไร ความสบาย ความเบา ความเงียบ แล้วเราก็เพลิดเพลิน ดูเพลินไปสบาย ๆ แล้วก็หลับ อัน นั้นก็จะเป็น แต่ถ้าเรารู้ว่า การที่เรากาลังดูสภาพจิตอยู่ เพื่อที่จะไม่ให้เพลิน ต้องรู้ว่าสภาพจิต แต่ละขณะ


































































































   41   42   43   44   45