Page 51 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 51

911
ออ่นเปน็เรอื่งของรปูนามเปน็เรอื่งของธรรมชาติเปน็เรอื่งของสภาวธรรมเหตปุจัจยัเกดิขนึ้เขากว็นไปทนีี้ วนไป ส่วนใหญ่แล้วนีนะ ผัสสะที่กระทบขึ้นมา ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อย่างเช่นเสียงที่เราได้ยิน กลิ่น ที่สัมผัสที่เข้ามากระทบ ภาพที่เห็น
ส่วนใหญ่เราก็ไม่ค่อยได้สนใจ เรื่องการเกิดการดับของอารมณ์เหล่านั้นเท่าที่ควร หรือถ้าไม่ปฏิบัติ ไม่ได้สนใจธรรมะเลย ก็ไม่ได้สนใจถึงว่า อารมณ์เหล่านั้นมีการเกิดดับอย่างไร รู้แต่ว่าเกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้ว เราจะเห็น ถึงความเชื่อมโยงของรสชาติของอารมณ์ ความเชื่อมโยงของรสชาติของอารมณ์เป็นอย่างไร เมื่อ มีผัสสะขึ้นมา มีเวทนาเกิดขึ้น สิ่งที่ตามมาคือความยินดี ไม่ยินดี ในอารมณ์ที่เกิดขึ้น ความพอใจไม่พอใจ ในอารมณ์ที่เกิดขึ้น
ถึงแม้บางครั้ง เป็นอารมณ์เฉย ๆ เป็นกลาง ๆ ไม่ทาให้เกิดความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบก็ตาม แต่ ไม่เห็นการดับ ไม่เห็นการสิ้นสุด ไม่เห็นการจบไป ทีนี้พูดถึงว่า อารมณ์ความยินดีพอใจ ที่เรียกตัณหา หรืออุปาทาน เขาเรียก เวทนา ตัณหา อุปาทาน จริง ๆ เวทนาตรงนี้ มีลักษณะเป็นรสชาติของอารมณ์ ที่เกิดความสุข ความสบาย และเกิดความยินดีพอใจ ตัณหา อุปาทานเกิด มีความยินดีพอใจ ตัณหาเกิด มีความยินดีพอใจ ก็พยายามที่จะยึดจะรักษาเอาไว้ ให้เป็นอยู่อย่างนี้ตลอดไป ให้เป็นอยู่อย่างนี้ตลอดไป คือตรงที่รู้สึกดีแบบนี้ตลอดไป อันนี้อย่างหนึ่ง
แม้แต่ความรู้สึกไม่ดี ผัสสะที่เกิดทุกขเวทนาขึ้นมานี่นะ พยายามผลัก พยายามปฏิเสธ แต่ปฏิเสธ เร่ืองราว แต่ไม่ได้ปฏิเสธตัวความทุกข์ ไม่ได้ดับความทุกข์อันนั้น คือมีความทุกข์เกิดขึ้น เป็นทุกขเวทนา เกิดขึ้นมา พอมีความทุกขเวทนาเกิดขึ้นมา แทนที่จะดับความทุกข์ บางครั้งก็จะเปลี่ยนอารมณ์ เพื่อที่จะหา อารมณ์อื่น มากลบความทุกข์ที่ตัวเองมี มาปิดความทุกข์ที่มีอยู่ แล้วก็ทาความทุกข์ใหม่ ตรงนั้นเปลี่ยนไป ก็ทุกข์ใหม่ขึ้นมาเรื่อย ๆ ไม่เห็นการดับ
แม้แต่พยายามผลักอารมณ์นั้นไม่ให้เกิดก็ตาม อารมณ์ที่ทาให้ทุกข์ พอพยายามไม่ให้เกิด แต่เขา ก็เกิด พอเกิดก็ยังทุกข์อยู่ดี ไม่อยากให้เกิด แต่ก็เกิดเพราะเหตุปัจจัยมี ก็ยังทุกข์อยู่ดี ความทุกข์ตรงนี้ เป็นเชื้อ ความสุขตรงนี้เป็นเชื้อ เขาเรียกกามตัณหา ภวตัณหา และก็วิภวตัณหา วิภวะ คือไม่อยากให้เกิด อยากให้หมดไป
แตใ่ นขณะเดยี วกนั ความไมช่ อบ เปน็ ตวั ...บางครงั้ สงั เกต เราไมช่ อบอารมณอ์ ะไรมาก ๆ กลบั กลาย เปน็ ยดึ อารมณน์ นั้ นาน เพราะอะไร ยงิ่ ไมช่ อบ...คดิ ถงึ บอ่ ย ไมช่ อบแตค่ ดิ ถงึ บอ่ ย แตพ่ อคดิ ถงึ บอ่ ย รสชาติ นนั้ ตงั้ อยู่ ทกุ ครงั้ ทคี่ ดิ ถงึ รสชาตนิ นั้ กเ็ พมิ่ ขนึ้ ๆ ความไมส่ บายใจความไมช่ อบ พอเหน็ เหตใุ กล้ อารมณใ์ กล้ เคียงกัน ที่เคยไม่ชอบก็จะนึกถึงเรื่องที่เราไม่ชอบ อันนี้เขาเรียกว่าเหตุใกล้ ทาให้ระลึกถึงเรื่องนั้น ๆ ขึ้นมา นี่คืออย่างหนึ่ง
ที่บอกว่า รสชาติของอารมณ์ที่มันเกาะเกี่ยวอยู่ในจิตใจของเรา ฝังลึกอยู่ในจิตใจของเรา กลายเป็น จรติ กลายเปน็ ความชอบ กลายเปน็ อปุ นสิ ยั เหน็ อะไรเกดิ ความรสู้ กึ แบบนนั้ อยากจะทา แบบนนั้ อยากสานตอ่


































































































   49   50   51   52   53