Page 56 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 56
916
ตวั จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ อู้ ยตู่ รงไหน ขณะทตี่ ามกา หนดอาการ ถา้ ไมอ่ ยา่ งนนั้ จะมแี ตเ่ ราเปน็ ผดู้ ู เราเปน็ ผรู้ ู้ เราเปน็ ผู้เห็น ความปวดเกิดขึ้น เราก็เป็นผู้ดูความปวด แต่เราอยู่ตรงไหน บอกไม่ได้ บอกไม่ถูก
เหมือนจะกลับมาหาความรู้สึก มาหาเรา มาหาจิต สังเกตไหมว่า พอให้ไปดูที่ตัวรู้ จะกลับมาหา ตัวรู้ไม่เจอ...หาผู้ดู หาผู้ที่ทาหน้าที่รู้อารมณ์ไม่เจอ เพราะอะไร เพราะตัวหาเองเป็นใจรู้ เป็นตัวผู้รู้ เป็นผู้ดู อารมณ์ เราก็เลยกลายเป็นตัวผู้หา เลยไม่ได้หาตัว ไม่ได้ดูตัวเอง กลับไปหาอย่างอื่นแทน นี่แหละคือความ ละเอียดของธรรมะ ความละเอียดของสภาวธรรม อาจารย์จึงให้สังเกตให้ละเอียดให้ชัด
เพราะฉะนั้น หลักการวิปัสสนา เป็นแนวทางที่จะตัดได้ ทีนี้เริ่มต้นด้วยการกาหนด พูดถึงการแยก ขันธ์ อย่างเช่นความคิดที่เกิดขึ้น ที่บอกให้กาหนดรู้ เวลาความคิดเรื่องราวเก่า ๆ เกิดขึ้นมา จิตที่ทาหน้าที่ รู้กับความคิด เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วน พอเป็นเรื่องราวว่าเป็นความคิด ตรงนี้จะเป็นสัญญาเก่า เป็นเรื่องราวเก่า ๆ พอเป็นเรื่องราว เราจะเห็นชัดว่า อันนี้เป็นเรื่องของอดีต ที่กลายเป็นสัญญา ถ้าบอกว่า จาได้ว่าปวดนะ อันนี้จะเป็นของละเอียดมาก เพราะว่าเราจาได้ว่ามันปวดเป็นแบบนี้ สุขเป็นแบบนี้ นั่นคือ ตัวสัญญาอย่างหนึ่ง นั่นคือสภาวะที่บอกได้
เพราะระลกึ จา ไดว้ า่ ลกั ษณะนเี้ รยี กวา่ ปวด เรยี กวา่ สขุ แตต่ วั สญั ญาอยา่ งหนงึ่ คอื ความคดิ ในอดตี ความคิดเรื่องราวเก่า ๆ ที่เกิดขึ้น เราจะเห็นได้ชัดว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้เรื่องที่คิด กับความคิดเป็นคนละส่วน กนั อนั นจี้ ะแยกไดง้ า่ ยเลย เพราะความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ สว่ นใหญจ่ ะมภี าพประกอบ เขาเรยี กมมี โนภาพปรากฏ ขึ้นมา คิดถึงบ้าน คิดถึงคน คิดถึงวัตถุ คิดถึงสิ่งของต่าง ๆ ก็จะมีมโนภาพของสิ่งของนั้น ๆ ปรากฏขึ้นมา เสียเป็นส่วนใหญ่
เพราะฉะนั้น จึงแยกได้ว่า เพราะสิ่งของ...มโนภาพหรือภาพต่าง ๆ จะมีขอบเขตปริมณฑลของตัว เอง ไม่ต่างอะไรกับรูปร่างกาย ที่เรา...จิตว่างเบากับตัวที่นั่งอยู่นี่นะ เพราะตัวขยายตามจิตไม่ได้ ก็นั่งอยู่ ตรงนี้ จึงเห็นชัดว่าเป็นคนละส่วนชัดเจน แต่บางทีถ้าเราไม่รู้ ไม่รู้ว่าต้องใส่ใจไหม ต้องสังเกตไหม แล้วก็รู้ ว่า มันก็เป็นความคิดเท่านั้นแหละ รู้ว่าคิดแล้วก็ผ่านไป คิดแล้วผ่านไป เดี๋ยวก็คิดเรื่องใหม่ขึ้นมา ไม่รู้ว่า อะไร ความคิดก็เป็นขันธ์ ๆ หนึ่ง ตัวจิตที่ทาหน้าที่รู้ ก็เป็นอีกส่วนหนึ่ง
การที่กาหนดรู้ตรงนี้ เขาเรียกว่าปัญญาที่เกิดขึ้น เห็นถึงความเป็นคนละส่วน กลายเป็นแยกจิตกับ จ ติ จ ติ ก บั ต วั ส ญั ญ า ต วั ว ญิ ญ า ณ ข นั ธ ก์ บั ต วั ส ญั ญ า ข นั ธ แ์ ย ก ก นั พ อ เ ร า เ ห น็ อ า ก า ร ห ย า บ ๆ ต ร ง น ี ้ พ อ อ า ก า ร ของขันธ์แต่ละขันธ์ เห็นแยกกันปุ๊บนี่นะ ลองดูว่าสภาพจิตรู้สึกเป็นอย่างไร เขาจะอิสระมากขึ้น พอคลาย อุปาทาน ต่อไปเมื่อมีเจตนาที่จะกาหนดรู้ ถึงการเกิดดับของอารมณ์ก็จะง่ายขึ้น เพราะเขาแยกส่วน หนึ่ง บางทีเป็นแค่เพียงผู้ดูได้ บางครั้งเป็นผู้ดู ดูว่าเขาเกิดดับอย่างไร
อันนี้ที่เริ่มต้น เราดูว่า ดูอาการทางกาย อย่างเช่น โดยส่วนใหญ่เริ่มต้นว่าให้ดูลมหายใจ ดูอาการ พองยุบ เขาเรียกดูอาการทางกาย เพราะเป็นอารมณ์หยาบ พอรู้ไปเรื่อย ๆ อาการนี้เปลี่ยนไป ลมหายใจ จรงิ ๆ แลว้ ตอ้ งถามวา่ อาการของลมหายใจเขา้ ออก เกดิ ดบั อยา่ งไร เพอื่ ใหส้ งั เกต ไมอ่ ยา่ งนนั้ เรากร็ หู้ ายใจ