Page 207 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 207
515
เป้าหมายในการกาหนดรู้ คือการพิจารณาถึงกฎไตรลักษณ์ ความเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ ที่กาลัง ปรากฏเกดิ ขนึ้ อยู่ ของลมหายใจทกี่ า ลงั เปน็ ไปอยู่ วา่ เปลยี่ นแปลงไปอยา่ งไร มอี าการเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งไร ตั้งแต่เริ่มต้นที่เข้าไปกาหนด จนอาการของลมหายใจนั้นหมดไปหายไป หรือการกาหนดอาการของพองยุบ ก็เช่นเดียวกัน มีสติเข้าไปกาหนดรู้อาการพองยุบ อาการพองอาการยุบที่มีความเปลี่ยนแปลงไป ตั้งแต่เริ่ม กาหนด จนอาการพองยุบหมดไปหรือหายไป ใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้ว่า อาการพองยุบนั้น มีการเปลี่ยนแปลง เป็นไปในลักษณะอย่างไร
การที่เข้าไปกาหนดรู้ ถึงความเปลี่ยนแปลงตรงนี้ เขาเรียกว่า กาหนดรู้ถึงอนิจจลักษณะ ลักษณะ ของความไม่เที่ยง ลักษณะของความไม่เที่ยง มีความแปรปรวน เปลี่ยนแปลงอยู่เนือง ๆ อันนี้คือความไม่ เที่ยง ที่เรียกว่า อนิจจลักษณะ หรืออนิจจัง อีกจุดหนึ่งที่เราพึงสังเกต ผู้ปฏิบัติพึงสังเกตก็คือ อาการที่ว่า ทุกขลักษณะ ทุกขลักษณะคืออารมณ์อาการที่เกิดขึ้น แล้วตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ มีแล้วหมดไป มีแล้ว หายไป ตรงนี้แหละ ผู้ปฏิบัติจะได้เห็นถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของอาการพองยุบ อาการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปของลมหายใจเข้าออก ว่ามีความเปลี่ยนแปลง เป็นไปอย่างไร
เพราะฉะนั้น การกาหนดรู้อาการพระไตรลักษณ์ จึงเป็นเป้าหมาย หรือเป็นสิ่งสาคัญในการเจริญ วิปัสสนา เราพิจารณาถึงกฎไตรลักษณ์ ของอาการทางกายที่ปรากฏเกิดขึ้น และอีกอย่างหนึ่ง ที่เป็นอนัตต- ลักษณะ ลักษณะของอาการของลมหายใจเข้าออก ลักษณะของอาการของพองยุบ ที่เปลี่ยนไป เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ที่ไม่สามารถบังคับให้เป็นอย่างที่ปรารถนา ต่อเนื่องตลอดเวลาได้ เราจะเห็นถึงความเปลี่ยน ไป เป็นไปของอาการของลมหายใจ อาการของพองยุบ
บางครงั้ เรว็ บา้ ง บางครงั้ ชดั บางครงั้ บาง บางครงั้ เบา บางครงั้ เลอื นราง บางครงั้ กว็ า่ งไปไมม่ ี ไมส่ ามารถ ให้เป็นอยู่อย่างนั้นตลอดเวลา นี่คือความเป็นสภาวธรรม ความเป็นธรรมดาธรรมชาติ ที่ไม่สามารถบังคับ ให้เป็นอย่างนั้นตลอดไปได้ อันนี้อย่างหนึ่ง ที่เรียกว่า อนัตตลักษณะ คือลักษณะที่ไม่สามารถบังคับ ถึง ความเปลี่ยนแปลงอาการนั้นได้ ให้เป็นอย่างที่ต้องการเสมอไปได้
และอกี อยา่ งหนงึ่ คา วา่ อนตั ตา ทบี่ อกวา่ ใหท้ า ใจใหว้ า่ ง ๆ ยกจติ ขนึ้ สคู่ วามวา่ ง ทา ใจใหส้ บาย ๆ คา วา่ อัตตาตัวนี้ เป็นสิ่งสาคัญ อนัตตลักษณะหรืออัตตา ความรู้สึกว่าเป็นเราเป็นของเรา อันนี้เป็นทิฏฐิ เป็น ความรู้สึกที่เป็นความเห็น ความเข้าใจว่าเป็นเราเป็นของเรา เป็นลมหายใจของเรา เป็นอาการพองยุบของ เรา เป็นร่างกายของเรา เป็นตัวของเรา นั่นคือความเป็นอัตตาอย่างหนึ่ง
เพราะฉะนั้น การพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ การพิจารณาอาการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป เปลี่ยนไป เปลี่ยนแปลงไปอยู่เรื่อย ๆ ก็จะทาให้เห็นว่า สภาวธรรมอาการอะไร อาการทางกายที่เกิดขึ้น ที่เคยเข้าใจ ว่าเป็นตัวเราของเรา จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เนือง ๆ และไม่สามารถบังคับ ให้เป็นอย่างที่ปรารถนาเสมอ ไปได้ อันนี้เห็นความเป็นอนัตตา ความเป็นอนัตตาจะชัดขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อสติสมาธิปัญญาแก่กล้าขึ้น ก็จะ เห็นชัดถึงความเป็นธรรมชาติ ของกายของรูปนาม ตรงนี้อย่างหนึ่ง เป็นสิ่งสาคัญในการพิจารณา