Page 21 - หนังสือมรดกภูมิปัญญา
P. 21

ที่มาภาพจาก : เฟซบุ๊ก วัดพระนอนพัฒนาราม
๑๔
 สมัยประวัติศาสตร์ อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๘ นักโบราณคดีได้พบแหล่ง ชุมชนโบราณและโบราณวัตถุที่สาคัญหลายแห่ง เช่น ชุมชนโบราณดงเมืองแอม กลุ่มเสมาหิน เมืองโบราณบ้านโพธิ์ชัย ศิลาจารึกและเสมาหินวันไตรรงค์ พระพุทธรูปสลักหินปางไสยาสน์ ปราสาทหินเปือยน้อย หรือกู่เปือยน้อย ปราสาทหินกู่แก้ว และหลักศิลาจารึกกู่แก้ว และปราสาท หินโนนกู่ เป็นต้น
บ้านโนนเมืองวัดป่าพระนอน ตั้งอยู่ที่ตาบลชุมแพ อาเภอชุมแพ พบร่องรอยทาง โบราณคดี ยุคสมัยศิลปะทวารวดีที่สาคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดขอนแก่น ได้พบเสมาหินทราย ศิลปะทวารวดี บริเวณศาลเจ้าปู่ พบใบเสมาทั้งชนิดแบน ชนิดแท่งสี่เหลี่ยม แท่งแปดเหลี่ยมปัก
 อยู่ทั้งล้มจมดิน มีการแกะลวดลาย กลีบบัว กลีบเดียวหรือสองกลีบ แท่งหินที่สาคัญที่ชาวบ้าน เรียกว่า “เสาหลักเมือง” เป็นรูปทรงกลมมีรอยจารึก ซึ่งเข้าใจว่าเป็นตัวอักษรมอญโบราณ ได้ นาเอามาทาเป็นหลักเมืองขอนแก่น
ปู่พระนอน สันนิษฐานว่าจะถูกสร้างขึ้นในสมัย ทวารวดี-ศรีวิชัย พร้อมกับเมืองโบราณโนนเมือง
      เสาหินมีลักษณะคล้ายหลักเมือง และใบสีมา มีการสลักตัวอักษรขอมและลาย
 บัวคว่าหงายดูเป็นศิลปะสมัยโบราณ
ที่มาภาพจาก : เฟซบุ๊ก วัดพระนอนพัฒนาราม


























































































   19   20   21   22   23