Page 13 - บันทึก25ปี ธรรมศาสตร์ลำปาง
P. 13

 การขยายการศึกษามาสู่ภูมิภาค
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ า ปาง กา้ วใหมข่ องการขยายโอกาสทางการศกึ ษาสภู่ มู ภิ าคสนองนโยบายทบวงมหาวทิ ยาลยั พรอ้ มกบั เปดิ หลกั สตู รใหมท่ ผี่ ลติ บณั ฑติ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของทอ้ งถนิ่ และรองรบั การพฒั นาระดบั ภมู ภิ าคในโครงการ สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจไทย พม่า จีน ลาว และโครงการ ๖ เหลี่ยมลุ่มแม่น้าโขงไทย พม่า จีน ลาว กัมพูชา เวียดนามที่จะเกิดขึ้นเป็น รูปธรรมในอนาคต สืบเนื่องจากนโยบายของทบวงมหาวิทยาลัยซึ่งกาหนดไว้ในแผนอุดมศึกษา ๗ ปี (พ.ศ ๒๕๓๕ ถึง พ.ศ ๒๕๓๙) ทตี่ อ้ งการขยายโอกาสทางการศกึ ษาสภู่ มู ภิ าค มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรไ์ ดส้ นองนโยบายดงั กลา่ วในฐานะเปน็ สถาบนั การศกึ ษา ที่ให้ความสาคัญในเรื่องการกระจายโอกาสทางการศึกษามาตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง จึงได้ตั้งคณะกรรมการเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ใน โครงการขยายศูนย์การเรียนไปยังภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ ภาคเหนือ ศูนย์ลาปาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์อุดรธานี ภาคตะวันออก ศูนย์พัทยา และภาคใต้ ศูนย์นราธิวาส
โครงการจดั ตงั้ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ า ปาง เปน็ การดา เนนิ การตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๓๙ และมติเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ครั้งที่ ๗/๒๕๓๙ ซึ่งได้มีมติให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ดาเนินการโครงการ จัดตั้งศูนย์ลาปางขึ้นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามภารกิจของมหาวิทยาลัย และนโยบายขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ภูมิภาค และให้เริ่มรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ในปีการศึกษา ๒๕๔๑ เป็นคณะแรก จานวน ๕๓ คน โดยจัดให้เรียนชั้นปีที่ ๑ ที่ศูนย์รังสิต และย้ายไปเรียนที่ศูนย์ลาปางในปีการศึกษา ๒๕๔๒ พร้อมกับนักศึกษาใหม่ ปีต่อมาได้รับ การอนุมัติให้เปิดหลักสูตรใหม่อีก ๑ สาขาคือ สาขาวิชาสหวิทยาการสังคมศาสตร์ซึ่งเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางด้านศิลปศาสตร์ ที่มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตออกไปรับใช้สังคมในท้องถิ่นเป็นหลัก อันเป็นการเตรียมบุคลากรรองรับการพัฒนาระดับภูมิภาคตาม ความต้องการของท้องถิ่น โดยอาศัยองค์ความรู้จากศาสตร์แขนงต่างๆ ที่หลากหลาย เข้าแก้ไขในรูปแบบผสมผสานใน ๒ วิชาเอก คือ (๑) วิชาศึกษาอาณาบริเวณอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ซึ่งเจาะลึกในเรื่องประวัติศาสตร์ชุมชน สังคม และวัฒนธรรม รวมทั้ง การติดต่อค้าขายของกลุ่มชนในบริเวณดังกล่าว และ (๒) วิชาการจัดการทรัพยากรทางสังคมวัฒนธรรม ศึกษาด้านการบริหาร จัดการทรัพยากรทางสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ในสังคมท้องถิ่นภาคเหนือเป็นหลักเพื่อรองรับการพัฒนาระดับภูมิภาคใน โครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจไทย พม่า จีน ลาว และโครงการ ๖ เหลี่ยมลุ่มแม่น้าโขงไทย พม่า จีน ลาว กัมพูชา เวียดนาม ที่จะเกิด ขึ้นในอนาคต อีกทั้งยังสอดคล้องโดยตรงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๘ ที่เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นหลัก
กอ่ นหนา้ นี้ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๓๕ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ไดเ้ รมิ่ ขยายโอกาสทางการศกึ ษาออกสภู่ มู ภิ าค โดยการเปิดการเรียนการสอนโครงการปริญญาโท สาขาการปกครองสาหรับผู้บริหารของคณะรัฐศาสตร์ โดยความร่วมมือกับ ภาครัฐและเอกชน ในจังหวัดลาปาง ได้เล็งเห็นถึงความเหมาะสมของจังหวัดลาปาง ในฐานะที่จะเป็นศูนย์กลางการพัฒนาการ ศึกษาในเขตภาคเหนือ อย่างไรก็ตามมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง ได้เปิดการเรียนการสอนเต็มรูปแบบในปีการศึกษา ๒๕๔๒ โดยระยะเรมิ่ ตน้ กระทรวงมหาดไทยไดอ้ นญุ าตใหม้ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ใชอ้ าคารศาลากลางหลงั เดมิ เปน็ สถานทจี่ ดั การ เรยี นการสอน และบรหิ ารงานของมหาวทิ ยาลยั นอกจากนที้ บวงมหาวทิ ยาลยั ยงั ไดต้ ดิ ตงั้ ระบบการเรยี นการสอนทางไกลแบบสอง ทาง interactive teleconference ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ในการประชุมสัมมนา และ บรรยายร่วมกบัหอ้งประชมุศูนยว์ัฒนธรรมอาคารอเนกประสงคม์หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทา่พระจนัทร์และเครอืข่ายต่างๆของ มหาวิทยาลัยกว่า ๑๐ แห่ง รูปแบบการเรียนการสอนที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง เป็นการบรรยายในชั้นเรียน โดย คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และศูนย์รังสิต บรรยายผ่านระบบการเรียนทางไกลประมาณร้อยละ ๒๕ นอกจากกิจกรรมด้านการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีแล้ว ยังมีโครงการปริญญาโทสาขาการปกครองสาหรับผู้บริหารของ
๓






























































































   11   12   13   14   15