Page 17 - บันทึก25ปี ธรรมศาสตร์ลำปาง
P. 17
นอกจากนี้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง ยังได้รับพระกรุณาจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กมุ ารี อกี ครงั้ หนงึ่ ในการเสดจ็ พระราชดา เนนิ เพอื่ ทรงเปดิ อาคาร “สริ นิ ธรารตั น”์ และทรงวางศลิ าฤกษอ์ าคารเรยี นรวม ๕ ชนั้ แหง่ ใหม่ในวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๘
อาคารเรียนรวม “สิรินธรารัตน์” แห่งนี้เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ชั้น ตกแต่งด้วยหินแกรนิต กระเบื้องดินเผา ประกอบดว้ ยหอ้ งบรรยายขนาด ๕๐ คนจา นวน ๔ หอ้ ง หอ้ งบรรยายขนาด ๑๐๐ คน จา นวน ๓ หอ้ ง และหอ้ งบรรยายขนาด ๒๕๐ คน จา นวน ๒ หอ้ ง รวมถงึ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ ง ๆ รปู ทรงอาคารภายนอกออกแบบเปน็ ทรงเรขาคณติ ๕ แฉกตามแบบรา่ งกายวภิ าค คน ของลโี อนาโด ดาวนิ ชี โดยคณุ บญุ ชู ตรที อง ไดแ้ รงบนั ดาลใจในการออกแบบอาคาร จากครงั้ ทที่ า่ นไดด้ า รงตา แหนง่ เปน็ รฐั มนตรี วา่ การทบวงมหาวทิ ยาลยั ในปี ๒๕๓๘ แลว้ ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปน็ ผดู้ า เนนิ การจดั งาน World Tech โดยมมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี สุรนารี เป็นเจ้าภาพด้านสถานที่ (วารุณี, บก ๒๕๕๘: ๓๔๘) ในขณะที่โดมแก้วซึ่งออกแบบตั้งอยู่ตรงส่วนหน้าของอาคารสิรินธรา รตั นเ์ ปน็ หอคอยตดิ กระจกหลงั คาเปน็ ทรงโดมซงึ่ เปน็ สญั ลกั ษณร์ ว่ มของมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ อยา่ งไรกต็ ามความโดดเดน่ พเิ ศษ ของอาคารอยู่ที่รูปทรงทางสถาปัตยกรรมกายภาพภายนอกในฐานะที่เป็นอาคารเรียนรวมหลังแรกในศูนย์ลาปางการออกแบบจึง มลี กั ษณะพเิ ศษและบง่ บอกถงึ สญั ลกั ษณแ์ สดงความเปน็ ธรรมศาสตรน์ นั่ คอื อาคารสว่ นหนา้ บนยอดสรา้ งเปน็ หลงั คาโดมสญั ลกั ษณ์ ประจามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ที่จะต้องสร้างขึ้นที่อาคารศูนย์กลางทุกศูนย์การศึกษา
๗