Page 101 - Test gigo cat2017 th
P. 101
1. ตอ่ วงจรมอเตอรด์ งั รปู แลว้ หมนุ สวติ ซ์ ON สงั เกต ทศิ ทางการหมนุ ของมอเตอร์
Fig. 4-2
1
switch
battery motor M
2. เปลย่ี นขวั้ ของถา่ นไฟฉายทจ่ี า่ ยไฟฟา้ ใหก้ บั มอเตอร์ โดยอาจ สลบั ขว้ั ไฟฟา้ ทกี่ ระบะถา่ น หรอื สลบั ขวั้ ทจ่ี ดุ ตอ่ ของมอเตอร์ แลว้ หมนุ สวติ ซ์ ON สงั เกตทศิ ทางการหมนุ ของมอเตอรเ์ ทยี บ กบั ขน้ั ตอนที่ 1
Fig. 4-1
1
switch
battery motor M
3. เพมิ่ แรงดนั ไฟฟา้ ใหก้ บั มอเตอร์ โดยตอ่ แบตเตอรแ่ี บบอนกุ รม แลว้ หมนุ สวติ ซ์ ON สงั เกตแรงการหมนุ ของมอเตอร์
Fig. 5
switch
battery motor M battery
1
จากการทดลองทงั้ สามขน้ั ตอนจะพบวา่ เราสามารถเปลยี่ นทศิ ทางการหมนุ ของมอเตอรไ์ ดโ้ ดยการเปลยี่ นทศิ ทางของกระแส ไฟฟา้ ทจี่ า่ ยใหก้ บั มอเตอร์ สา หรบั แรงการหมนุ หรอื ความเรว็ การหมนุ ของมอเตอรจ์ ะขนึ้ กบั ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ หรอื แรงดนั ไฟฟา้ ที่ จา่ ยใหก้ บั มอเตอร์ ถา้ กระแสไฟฟา้ มากขน้ึ หรอื แรงดนั มากขนึ้ มอเตอรจ์ ะหมนุ เรว็ ขนึ้ ดงั นนั้ ถา้ หากเราสามารถสรา้ งวงจรควบคมุ
ทศิ ทางของกระแสไฟฟา้ และปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ทไี่ หลผา่ นมอเตอร์ เราจะสามารถสรา้ งวงจรควบคมุ มอเตอรไ์ ด้
มอเตอรม์ หี ลายรนุ่ หลายชนดิ หลายขนาด แตล่ ะขนาดจะตอ้ งการปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ไมเ่ ทา่ กนั และมขี ดี จา กดั ในการรบั คา่ กระแสไฟฟา้ ไมเ่ ทา่ กนั ดว้ ย หากเราเพม่ิ แรงดนั ไฟฟา้ มากขนึ้ เรอื่ ย ๆ มอเตอรก์ จ็ ะเสยี หายได้
Fig. 6
switch
battery battery
bulb
4. ขนั้ ตอนนจี้ ะทดลองตอ่ อปุ กรณไ์ ฟฟา้ เพมิ่ เขา้ ไปใน วงจร และตอ่ สวติ ซเ์ ขา้ กบั กระบะถา่ นเพอื่ ประหยดั สายไฟ โดยตอ่ หลอดไฟและมอเตอรเ์ ขา้ ดว้ ยกนั แบบ อนกุ รม ดงั รปู การตอ่ ลกั ษณะนเ้ี รยี กวา่ “Loads in series” เมอ่ื หมนุ สวติ ซม์ ายงั ตา แหนง่ ON จะพบวา่ มอเตอรจ์ ะหมนุ พรอ้ มกบั หลอดไฟสวา่ ง
motor M
1
5. ขน้ั ตอนนจี้ ะนา หลอดไฟและมอเตอรม์ าตอ่ ขนานกนั โดยนา ขว้ั ตอ่ อกี สองตวั เขา้ มาในวงจร การตอ่
อปุ กรณใ์ หท้ า งานในลกั ษณะนเ้ี รยี กวา่
“Loads in parallel” เมอ่ื หมนุ สวติ ซ์
มายงั ตา แหนง่ ON จะพบวา่ มอเตอร์ และหลอดไฟจะทา งานพรอ้ มกนั
3V
motor
bulb
จากการทดลองในขั้นตอนที่ 4 และ 5 จะพบว่าในข้ันตอนที่ 4 หลอดไฟจะสว่างน้อยกว่า และมอเตอร์จะหมุนช้ากว่า เม่ือเทียบกับการทดลองในข้ันตอนท่ี 5 การต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าแบบอนุกรมนั้นแรงดันไฟฟ้ารวมของอุปกรณ์แต่ละตัวจะเท่ากับแรง ดันไฟฟ้ารวมของแหล่งจ่ายไฟ ดังนั้นเมื่อแรงดันไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟมีค่าคงที่ค่าหนึ่ง จะทาให้แรงดันไฟฟ้าของอุปกรณ์ไฟฟ้า แต่ละตัวมีค่าน้อยกว่าแรงดันไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟ และการต่อวงจรลักษณะนี้กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านอุปกรณ์แต่ละตัวจะมีค่า เท่ากัน สาหรับการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าแบบขนาน แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมอุปกรณ์แต่ละตัวจะมีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่คร่อมจุดต่อ ของอุปกรณ์ ซึ่งหมายความว่าแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมอุปกรณ์แต่ละตัวมีค่าเท่ากัน จากวงจรในขั้นตอนท่ี 5 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อม มอเตอร์และหลอดไฟจะมีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟ ดังนั้นจะทาให้มอเตอร์หมุนเร็วข้ึน หลอดไฟสว่างมากข้ึนเมื่อ เทียบกับขั้นตอนท่ี 4 แต่การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานน้ันผลรวมของกระแสไฟฟ้าท่ีผ่านอุปกรณ์แต่ละตัวจะมีค่าเท่ากับกระแส ไฟฟ้าท่ีแหล่งจ่ายไฟจ่ายออกมา
99
GIGO Catalog 2016-Secondary 07082016.indd 99 2/25/2017 1:13:42 PM
M