Page 107 - ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
P. 107
สล่าเขียมทอง สวนแยง ประเภทงานแกะสลกั :
แกะสลกั ไมเ้ ปน็ รปู ชา้ งแบบลอยตวั ประเภทชา้ งจว๋ิ
สล่าหญิงคนบ้านกิ่วแลน้อยโดยกาเนิด แต่ก่อนมี อาชีพเกษตรกรและรับจ้างแกะสลักไม้เป็นอาชีพเสริม สลา่ เขยี มทองเรียนรู้การแกะสลักไม้ด้วยตนเองจากการสังเกต วิธีการของช่างแกะสลักคนอื่นๆ ตั้งแต่ที่ไปรับจ้างแกะสลักไม้ ที่บ้านข่วงสิงห์และโรงงานแกะสลักไม้ในบ้านกิ่วแลน้อยของ นายคา – นางอมั พร ศรจี นั ทร์ หรอื เรยี กไดว้ า่ เปน็ การเรยี นรแู้ บบ “ครูพักลักจา” แล้วจึงนามาฝึกฝนปฏิบัติด้วยตนเองจนเกิด ความชานาญ จนสามารถนามาพัฒนาเป็นงานแกะสลักช้างจ๋ิว ของตนเองได้ในเวลาต่อมา จากนั้นสล่าเขียมทองได้ลาออก จากโรงงานที่ข่วงสิงห์ กลับมารับจ้างแกะสลักไม้ในโรงงาน ของนายคา – นางอัมพร ศรีจันทร์ ได้พัฒนาตนเองในด้าน การแกะสลักช้างจิ๋วลีลา และสร้างผลงานออกมาอย่างต่อเนื่อง มากกว่า ๑๐ ปีแล้ว
ความชา นาญในการแกะสลกั ชา้ งจวิ๋ ซงึ่ บางตวั มขี นาด เล็กเท่าปลายดินสอแต่ก็ยังมีรายละเอียดครบถ้วน ฝีมือ การแกะสลักที่เก่งกาจนี้ทาให้สล่าเขียมทอง สวนแยงได้รับ เกียรติบัตรจากอาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ในโอกาสที่ ได้เข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ใน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รับเกียรติให้ไปแกะสลักไม้ถวายสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารีทอดพระเนตร เมื่อครั้งเสด็จพระราชดาเนินมา อา เภอสนั ปา่ ตอง จงั หวดั เชยี งใหม่ ตลอดจนไดไ้ ปสาธติ การแกะ สลกั ไมใ้ นงานตา่ งๆ ของทางจงั หวดั เชยี งใหม่ เชน่ งานฤดหู นาว และงานกาชาด งานไมด้ อกไมป้ ระดบั เป็นต้น
สล่าเขียมทองได้รับคัดเลือกจากสานักงานวัฒนธรรม จงั หวดั ลา ปาง ใหเ้ ปน็ ๑ ในครภู มู ปิ ญั ญาไมแ้ กะสลกั บา้ นกวิ่ แลนอ้ ย ตาบลบ้านแม อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ในโครงการ ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ กิจกรรม ตามรอย อารยธรรมลา้ นนาตะวนั ตก ไมแ้ กะสลกั ลา้ นนา ใน พ.ศ. ๒๕๖๒
(เขียมทอง สวนแยง, สัมภาษณ์, ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๒)
ข้อมูลท่ัวไป วันเกิด/อํายุ : เกิดวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ ปัจจุบันอายุ ๗๖ ปี ที่อยู่ : บ้านเลขท่ี ๒๐๑ หมู่ ๑๐ ตาบลบ้านแม อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ : ๐๙ ๓๑๘๖ ๖๐๒๑
สํานักงํานวฒันธรรมจงัหวดัลําปําง
ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
สล่าลุ่มน้าแม่ระมิงค์ บ้านกิ่วแลน้อย ตาบลบ้านแม อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
107