Page 113 - ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
P. 113

  ประวัติควํามเป็นมําของบ้ํานหนองยํางฟ้ํา
จากบทสัมภาษณ์ พระครูพิศิษฎ์ศุภการ ใน พ.ศ. ๒๕๔๔ (ไพศาล คากาศ. (๒๕๕๖). การจัดการความรู้ การแกะสลักพระพุทธรูปไม้ บ้านหนองยางฟ้า) กล่าวว่า อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองยางไคล องค์ที่ ๒ ได้เล่าให้ฟังว่า บ้านหนองยางฟ้า เดิมชื่อบ้านหนองยังผ้า แปลว่า ตากผ้า ทั้งนี้เพราะเมื่อ ๓๐๐ ปีก่อน มีพระธุดงค์องค์หนึ่งได้เดินทาง มาแสวงหาที่สงบเพื่อบาเพ็ญสมณะธรรม เมื่อมาถึงหนองน้า แหง่ นกี้ ไ็ ดน้ า ผา้ มาตากไว้ พระธดุ งคไ์ ดพ้ กั บรเิ วณนสี้ กั ระยะหนงึ่ เมอื่ ชาวบา้ นเหน็ จงึ ชวนกนั ไปทา บญุ ตกั บาตรตรงหนองนา้ นนั้ ด้วยเห็นมีผ้าตากอยู่เป็นเครื่องหมายว่ามีพระอยู่ จึงเรียกว่า หนองยงัผา้ ในตอนนนั้มหีมบู่า้นหนงึ่อยอู่กีฝง่ัหนงึ่ของแมน่า้ทา ชอื่ วา่ บา้ นผาขวาง ผใู้ หญบ่ า้ นบญุ ไทย ศิลาศักดิ์ ผู้นาชุมชน ในครั้งนั้นเห็นว่าการปกครองเป็นไปด้วยความยากลา บาก เพราะตวั เขาตอ้ งปกครองถงึ ๓ หมบู่ า้ น คอื บา้ นหนองยางไคล บา้ นทอ้ งฝายดอยแช่ และบา้ นผาขวาง ซึ่งหมู่บ้านนี้ตั้งอยู่อีก ฝั่งหนึ่ง ไม่มีสะพานข้ามแม่น้า ดังนั้น เขาจึงได้ชักชวนลูก บ้านผาขวางเข้ามาอยู่ยังบ้านหนองยังผ้า โดยเริ่มตั้งหมู่บ้าน ใน พ.ศ. ๒๔๙๖ เริ่มแรกมีอยู่ ๕ บ้าน ได้แก่ พ่อหลวงเสาร์- แม่หลวงเอ้ย พุทธวงค์ พ่อหลวงซอน-แม่หลวงมูล คากาศ พ่อหลวงแก้ว-แม่หลวงจันทร์ คากาศ พ่อหลวงอุ่น-แม่หลวง หลวง ปันกาศ และ พ่อหลวงหนานจันทร์-แม่หลวงจันทร์ ตื้อกาศ จากนน้ั ชอื่ หนองยงั ผา้ กถ็ กู เรยี กเพยี้ นมาเรื่อยๆ จน จนกลายเป็น “หนองยางฟ้า” ในปัจจุบัน ซึ่งในแง่ การปกครองนั้น บ้านหนองยางฟ้าเดิมอยู่รวมกับบ้าน หนองยางไคล เป็นหมู่ที่ ๗ ตาบลทากาศ ใน พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้ ขึ้นกับตาบลทาทุ่งหลวง และ พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้แยกออกจาก หมู่บ้านหนองยางไคลเป็นหมู่บ้านหนองยางฟ้าปัจจุบัน
113
สล่าลุ่มน้าทา บ้านหนองยางฟ้า ตาบลทาทุ่งหลวง อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน
  สํานักงํานวฒันธรรมจงัหวดัลําปําง
ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
  




























































































   111   112   113   114   115