Page 129 - ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
P. 129

 129
  สล่าไกรศร ตันกาศ ประเภทงานแกะสลกั :
งานทา สพี ระพทุ ธรปู และรปู เคารพตา่ งๆ
สล่าลุ่มน้าทา บ้านหนองยางฟ้า ตาบลทาทุ่งหลวง อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน
 พระพุทธรูปขนาดน้อยใหญ่หลากหลายปาง รวมไปถึง พระแผงเทพเจา้ รปู เคารพตา่ งๆ สสี วย บา้ งปดิ ทอง บา้ งทา สเี งาวบั งดงามตะการตาเปน็ ผลงานของสลา่ ไกรศรตนั กาศอดตี นกั ศกึ ษา วทิ ยาลยั เทคนคิ ลา พนู ทจี่ บการศกึ ษาแลว้ กก็ ลบั มาทา งานทบี่ า้ นเกดิ ครอบครัวสล่าไกรศรแต่เดิมทาการเกษตรและแกะสลักไม้เป็น อาชีพเสริม ด้วยเหตุนี้เขาจึงคุ้นเคยกับการแกะสลักไม้มาตั้งแต่ ยังเด็ก จนกระทงั่ เมอื่ อายไุ ด้ ๒๔ ปี เขาจงึ กลบั มาทา งานดา้ นนอี้ ยา่ ง จรงิ จงั และได้ส่งงานไปสู่ท้องตลาดที่บ้านถวายเป็นครั้งแรก และ ใน พ.ศ. ๒๕๖๒ สลา่ ไกรศรกไ็ ดร้ บั คดั เลอื กจากสา นกั งานวฒั นธรรม จังหวัดลาปาง ให้เป็น ๑ ในครูภูมิปัญญาไม้แกะสลักบ้าน หนองยางฟ้า ตาบลทาทุ่งหลวง อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน ใน โครงการของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ กิจกรรม ตามรอย อารยธรรมล้านนาตะวันตก ไม้แกะสลักล้านนา
สล่าไกรศรมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางในเรื่องการ ทา งานพทุ ธศลิ ปล์ า้ นนาประเภทพระพทุ ธรปู ทงั้ ในรปู แบบศลิ ปะ เชยี งแสน ศลิ ปะลา้ นนา พมา่ ฯลฯ โดยการแกะสลกั พระพทุ ธรปู นี้ เขาได้ศึกษาและค้นคว้าจากตาราและเอกสารมากมาย ทา ใหง้ าน พระพุทธรูปที่เขาถนัดนั้นมักเป็นงานศิลปะตามประเพณีเดิม ขนาดหรือพุทธลักษณะมักถูกกาหนดขึ้นจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ในภาคเหนือหรือชุมชนเป็นหลัก
การทางานของสล่าไกรศร ปัจจุบันเน้นเรื่องการทาสี เก็บรายละเอียดเป็นส่วนใหญ่ เขาได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง การทา สไี มแ้ กะสลกั ใหก้ บั ทายาทและคนในครอบครวั นอกจากนี้ ยังได้มีโอกาสถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับสถาบันการศึกษาต่างๆ อาทินกั ศกึ ษาคณะวจิ ติ รศลิ ป์มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ และเยาวชนในท้องถิ่นอีกเป็นจานวนมาก
(ไกรศร ตันกาศ, สัมภาษณ์, ๔ มิถุนายน ๒๕๖๒)
 ข้อมูลทั่วไป วันเกิด/อํายุ : เกิดวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๖ ปัจจุบันอายุ ๔๖ ปี ที่อยู่ : บ้านเลขที่ ๒๗๘ หมู่ ๕ ตาบลทาทุ่งหลวง อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน โทรศัพท์ : ๐๘ ๑๙๕๒ ๔๕๔๕, ๐๘ ๓๘๖๑ ๓๖๕๗
  สํานักงํานวฒันธรรมจงัหวดัลําปําง
ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
 























































































   127   128   129   130   131