Page 33 - ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
P. 33
ไม้ยมหอม-ฉาฉา-รัก-ไม้สัก-
พญางิ้วดา-พยูง (จากซ้ายไปขวา)
33
ไมม้ งคล
การสรา้ งงานแกะสลกั ในยคุ แรก หากเปน็ งานทเี่ กยี่ วกบั พระพุทธศาสนาจะมีการคัดเลือกไม้เป็นพิเศษมาแกะสลักเพื่อ เป็นพุทธบูชา ไม้แต่ละประเภทก็มีความหมายตามความเชื่อ ของชาวลา้ นนา ในหนงั สอื ไมง้ ามสรา้ งพระเจา้ (วลิ กั ษณ์ ศรปี า่ ซาง, ๒๕๕๔) ไดก้ ลา่ วถงึ ไมท้ นี่ า มาสรา้ งพระพทุ ธรปู หรอื พระพทุ ธเจา้ ซึ่งสรุปโดยสังเขปได้ดังนี้
- ไม้สัก เป็นไม้ที่มีชื่อมงคล (พ้องเสียงกับคาว่า ศักดิ์ หมายถึงมีศักดิ์ศรีหรือมีลาภยศโชคดีนั่นเอง, ผู้เขียน) เป็นไม้ที่ แกะง่ายและทนมอดทนปลวก
- ไม้สรี (อ่านว่าสะหลี) หรือไม้โพธิ์ ถือว่าเป็นไม้ของ พระพทุ ธเจา้ โคตมะ โดยเฉพาะกงิ่ ทยี่ นื่ ไปทางทศิ ใตห้ รอื ทศิ ตะวนั ตก แต่ไม้ชนิดนี้หายาก เพราะไม่มีใครกล้าตัดต้นโพธิ์ เพราะถือว่า เป็นการม้างศาสนาหรือขัดต่อศาสนา จึงไม่นิยมนามาใช้มา สร้างงานมากนัก
- ไม้สะเลียมหรือไม้สะเดํา นิยมนามาสร้างงานเพราะ ถือว่าเป็นไม้โพธิ์ของพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ
- ไมแ้ กน่ จนั ทน์ หรอื ไมจ้ นั ทห์ อม เปน็ ไมท้ หี่ ายากมาก จึงพบเห็นการแกะสลักพระพุทธรูปจากไม้ชนิดนี้น้อย หากวัด ใดมีพระพุทธรูปที่แกะสลักจากไม้ชนิดนี้ก็ถือว่าเป็นสมบัติที่ ล้าค่า
- ไม้ไผ่ มีวิธีการสร้างเหมือนการทาเครื่องเขิน มี การลงรักปิดทอง
- ไม้ที่ถือว่ําเป็นไม้ที่พระพุทธเจ้ําทุกพระองค์ประทับ ใต้ร่มไม้ ในช่วงเวลําที่ตรัสรู้ ได้แก่ ไม้กวาว (ทองกวาว) ไม้แคฝอย ไม้ไร (ไม้ไฮ หรือไม้จากต้นไทร) ไม้สาลกัลยาณะ ไม้นาวกาน ไม้บุนนาค ไม้ชะล่อ ไม้หมากเกลือ ไม้เดื่อกา ไม้จวง ไม้สะเลียม ไม้ซางคา ไม้ประเหียง ไม้จัมปา ไม้ฝาง ไม้กรรณิการ์ ไม้ดู่ลาย ไม้มะขามป้อม ไม้ม่วงขาว
- ไม้ที่เป็นมหําโพธิ์ของพระเจ้ําห้ําพระองค์ ได้แก่ พระพุทธเจ้ากกุสันธะ ไม้คะเซาะ พระพุทธเจ้าโกนาโคมนะ ไมม้ ะเดอื่ พระพทุ ธเจา้ กสั สปั ปะ ไมน้ โิ ครธ พระพทุ ธเจา้ โคตรมะ ไม้โพ พระพุทธเจ้าศรีอารยเมตไตรย ไม้นาวกานหรือบุนนาค ส่วนไม้อ่ืนๆ ท่ีมักนามาแกะสลักเป็นพระพุทธรูปตามความเชื่อ ของชาวล้านนาก็มีอีกหลายชนิด อาทิ
- ไม้ขนุน หมายถึงมีคนหนุนนา หากนามาแกะ พระพุทธรูปถวายวัดก็เช่ือว่าจะทาให้เกิดความม่ังมีศรีสุข
สํานักงํานวฒันธรรมจงัหวดัลําปําง
ขั้นตอนกํารแกะสลักไม้
ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง