Page 95 - ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
P. 95
สล่าอาพร ศรีหาตา ประเภทงานแกะสลัก: งานแกะสลักไม้ในการลงลวดลายบนแผ่นไม้ เช่น ลายช้างป่า ลายชนบทและ การลงลายรามเกียรติ์บนแผ่นไม้
5
สล่าลุ่มน้าแม่ระมิงค์ บ้านกิ่วแลน้อย ตาบลบ้านแม อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
และบางครั้งขับรถจักรยานยนต์เดินทางไปติดต่อลูกค้าถึง จังหวัดลาพูนและแถวบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง
สล่าอาพร ศรีหาตา ได้ทางานแกะสลักไม้เรื่อยมาจน พ.ศ. ๒๕๔๘ กรมการพฒั นาชมุ ชนไดส้ นบั สนนุ เรอื่ งการพฒั นา ผลิตภัณฑ์ มีการอบรมพัฒนาความรู้เรื่องแกะสลักไม้ การ หาตลาด โดยเป็นลักษณะของกลุ่ม OTOP ทาให้สามารถนา สนิ คา้ ไปขายได้ มตี ลาดทกี่ วา้ งขนึ้ ปจั จบุ นั นสี้ ลา่ อา พรมลี กู นอ้ ง ประจา ถงึ ๒๐ คน และทกุ วนั นกี้ ย็ งั ทา งานไมแ้ กะสลกั อยู่ อกี ทง้ั ยงั ไดร้ บั คดั เลอื กจากสา นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั ลา ปาง ใหเ้ ปน็ ๑ ในครูภูมิปัญญาไม้แกะสลักบ้านกิ่วแลน้อย ตาบลบ้านแม อา เภอสนั ปา่ ตอง จงั หวดั เชยี งใหม่ ในโครงการของกลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน ๑ กิจกรรม ตามรอยอารยธรรมล้านนา ตะวันตก ไม้แกะสลักล้านนา พ.ศ. ๒๕๖๒
สาหรับการถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการแกะสลักไม้ นนั้ สลา่ อา พรถา่ ยทอดงานแกะสลกั ไมใ้ หก้ บั พนกั งานและสลา่ ทมี่ าทา งานในโรงงาน
(อาพร ศรีหาตา, สัมภาษณ์, ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๒)
9
สล่าหญิงแห่งบ้านกิ่วแลน้อยที่ทางานไม้แกะสลัก มาแลว้ กว่า ๕๐ ปี สล่าอาพร ศรีหาตา ได้ผ่านช่วงเวลาที่สาคัญ ทุกช่วงของการแกะสลักไม้ของบ้านกิ่วแลน้อย สล่าอาพรเป็น คนบ้านกิ่วแลน้อยโดยกาเนิด ในช่วงวัยสาว สล่าอาพรทางาน เปน็ ลกู จา้ งในโรงงานบม่ ยาสบู กา นนั คา ปนั จงึ ชกั ชวนใหม้ าทา งาน แกะสลักไม้โดยกานันคาปันได้จ้างช่างฝีมือ ๒ คนมาสอน ได้แก่ พ่อครูสล่าใจ มโนแก้ว ซึ่งเป็นคนในหมู่บ้านกิ่วแลน้อย และพ่อครูสล่าตา ธรรมรังสี ซึ่งเป็นคนในหมู่บ้านกิ่วแลน้อย เช่นเดียวกันแต่ไปแต่งงานและตั้งถิ่นฐานอยู่ที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยเริ่มแกะสลักลายไทย ลายช้างป่า เป็น งานนูนต่าบนแผ่นไม้ ซึ่งใช้เวลาในการเรียนรู้งานแกะสลักไม้ ประมาณ ๑ ปี นอกจากจะได้ฝึกมือแล้วยังสามารถทาขายได้ อีกด้วย ในเวลานั้นกานันคาปันก็มีโรงงานกระจายสินค้าไม้ แกะสลักแล้ว
ต่อมามีการตรวจสอบและปิดโรงงานไม้แกะสลักของ กานันคาปัน ทุกคนที่รับจ้างในโรงงานจึงแยกย้ายมาทางาน แกะสลกั ไมท้ บี่ า้ นของตนเอง สว่ นกา นนั คา ปนั เกดิ ความเปน็ หว่ ง ลูกจ้างทั้งหมดที่ทางานแกะสลักไม้ในโรงงาน จึงมีการเสนอให้ จดั ตง้ั สหกรณบ์ า้ นกวิ่ แลนอ้ ย ใน พ.ศ. ๒๕๑๒ เพอื่ คมุ้ ครองการ ทาไม้แกะสลัก การหาตลาด และการปันผลจากสหกรณ์ แต่ก็ เกิดปัญหาภายใน จากนั้นสล่าอาพรและสมาชิกกลุ่มจึงมา ช่วยกันคิดว่าควรเปลี่ยนไม้ที่ใช้แกะสลักเป็นไม้ฉาฉา เนื่องจาก หากยังใช้ไม้สักในการแกะสลักอาจมีปัญหาติดขัดเรื่อง กฎหมายและการส่งสินค้าไปขาย จึงเปลี่ยนมาใช้ไม้ฉาฉาเป็น วัตถุดิบเป็นหลัก เนื่องจากเป็นไม้ที่มีมากในหมู่บ้านและถูก กฎหมาย ปจั จบุ นั ซอื้ ไมฉ้ า ฉาจากคนทตี่ ดั ไมฉ้ า ฉาขายในจงั หวดั เชยี งใหม่ ทง้ั นช้ี ว่ งทเ่ี ปลย่ี นมาเปน็ การแกะสลกั ไมฉ้ า ฉาสว่ นใหญ่ จะแกะสลักแผ่นไม้สาหรับเป็นของประดับตกแต่งบ้านตาม คา สง่ั ซอ้ื ของลกู คา้ เชน่ กระเชา้ รปู ไก่ เปน็ ตน้ การทา ไมแ้ กะสลกั ท่ี บา้ นของสลา่ อา พรจงึ ขยายการผลติ โดยการจา้ งคนเพมิ่ อกี ๑๐ คน โดยผู้ชายก็ให้ทางานท่ีใช้แรงส่วนผู้หญิงก็ให้ทางานแกะลาย ส่วนวิธีการหาตลาดของสล่าอาพรคือการขับรถไปเร่ขายสินค้า
ข้อมูลท่ัวไป วันเกิด/อํายุ : เกิดวันท่ี ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๒ ปัจจุบันอายุ ๗๐ ปี ที่อยู่ : บ้านเลขที่ ๓๐/๒ หมู่ ๑๐ ตาบลบ้านแม อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ : ๐๘ ๑๘๘๕ ๐๐๗๕
สํานักงํานวฒันธรรมจงัหวดัลําปําง
ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง