Page 50 - The Forgotten Islamic sci e book
P. 50

44
IBN AL-HAYTHAM
The Father of Optics
อิบนุ อิบนุ อัลฮัยฺซัม มีนามเต็มว่า อบู อะลี อัลฮะซัน อิบนุ อิบนุ อัลฮะซัน อิบนิ อัลฮัยซัม ชาวยุโรปเรียก อิบนุ อัลฮัยฺซัม ว่า อัลฮะซีน (ALHAZEN) ถือกําาเนิด ณ เมืองอัลบัซ เราะฮฺ ในปี ฮ ฮ ศ ศ ศ 354 /ค ศ ศ ศ 965 เติบโตและศึกษาความ รู้แขนงต่างๆ จากนักปราชญ์ของเมืองนี้ เขาเคยเป็น เสมียนอยู่ที่นั่น และเคยเยือนมหานครแบกแดดอยู่ หลายคร้ังเพื่อทําาความรู้จักและแลกเปลี่ยนความเห็น ทางวิชาการกับนักปราชญ์ของแบกแดด
อิบนุ อัลฮัยฺซัม ได้เร่ิมต้นชีวิตของตนในช่วงยุคทอง ของอารยธรรมอาหรับ-อิสลาม โดยนักปราชญ์ผู้น้ี ได้ทําาการคัดลอกตําาราทางปรัชญา เรขาคณิต คณิตศาสตร์ และการแพทย์จากภาษาต่างๆ เป็นภาษา อาหรับ และยุคแห่งการคิดค้นและประดิษฐ์ก็ได้เริ่มต้น ข้ึน อิบนุ อัลฮัยฺซัม ได้ศึกษาผลงานของนักปราชญ์ ชาวกรีกบางคน เช่น อริสโตเติล กาลิโนส ปโตเลมี อพอลโลนิอุสและอิกลิดุส โดยอาศัยเป็นข้อมูลในการ ค้นคว้าและวิจัยในภาควิชาฟิสิกส์และการแพทย์
อิบนุ อัลฮัยฺซัม มีความเลื่องลือเป็นอันมากเน่ืองจากการแต่งตําารา “อัลม่านาซิร” ซึ่งรวบรวมการค้นพบมากมายในวิชาฟิสิกส์และการศึกษาค้นคว้าอย่างเจาะลึก ในทฤษฎีว่าด้วยการสะท้อนและการหักเหของแสง ตําาราเล่มนี้ได้ถูกแปลเป็นภาษา ละติน และยังคงเป็นตําาราอ้างอิงเพียงเล่มเดียวในเร่ืองนี้จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ใช้กันท่ัวโลกโดยเฉพาะในยุโรปคงมิใช่เร่ืองเกินจริงหากเราถือว่า อิบนุ อัลฮัยฺซัม เป็นผู้วางรากฐานของวิชาฟิสิกส์ตามหลักวิชาที่ถูกต้อง เขาปฏิเสธทฤษฎีของ อิกลิดุสและปโตเลมีในภาควิชา Optics
(จักษุประสาท) ซ่ึงกล่าวว่า ตาของคนเรา ส่องแสงออกไปกระทบกับวัตถุแต่อิบนุอัลฮัยฺซัมได้แก้ไขทฤษฎนีี้ในตําาราของเขาท่ี ชื่อ อิลฺมุล บ่าซ่อริยาตฺ และการทดลองทางวิทยาศาสตร์ของเขายืนยันว่า สิ่งท่ี ตรงกันข้ามกับทฤษฎีของอิกลิดุสและปโตเลมีนั้นคือส่ิงท่ีถูกต้อง




























































































   48   49   50   51   52