Page 22 - SMM 02-1
P. 22
SMM 02-1 วิธีการมาตรฐานสาหรับเครื่องมือแพทย์
3) ทาการบันทึกค่าอัตราชีพจร (Pulse Rate) ที่อ่านได้จากเคร่ืองวัด ความดันโลหิต
4) ทาการวัดซ้าอีก 2 คร้ัง
5) ปรับต้ังค่าอัตราชีพจร (Pulse Rate) ที่ค่าอื่น และทาซ้าข้อ 2) ถึง 4)
จนครบทั้งสามค่าที่ระบุไว้ในตารางที่ 1
7.3.3 การสอบเทียบความดันแบบสถิต (Static Pressure)
ขั้นตอนการวัดความดันแบบสถิตสามารถดาเนินการได้ 2 วิธี ประกอบด้วย วิธีการปรับเพิ่ม-ลดความดันแบบต่อเน่ือง (วิธีการ A) และวิธีการวัดแบบกระทาซ้า (วธิ กี าร B) โดยวธิ กี าร A ถกู ใชเ้ ปน็ วธิ กี ารหลกั เวน้ เสยี แตว่ า่ เครอื่ งวดั ความดนั โลหติ (NIBP) ไม่สามารถถูกสอบเทียบด้วยวิธีการ A ได้ ให้ใช้วิธีการ B
7.3.3.1 วิธีการ A วิธีการปรับเพิ่ม-ลดความดันแบบต่อเนื่อง
1) สา หรบั เครอื่ งวดั ความดนั โลหติ แบบอตั โนมตั ิ ตงั้ เครอื่ งวดั ความดันโลหิต ไปที่การวัดค่าแบบสถิต เช่น Static mode Cal mode และ Test mode เป็นต้น หรือตามที่ผู้ผลิตแนะนา
2) เปิดระบบลมให้ความดันภายในระบบมีค่าเท่ากับความดันบรรยากาศ ทาการปรับส่วนแสดงผลของเคร่ืองวัดความดันมาตรฐาน และเครื่องวัด ความดันโลหิต (ถ้าปรับได้) ให้มีค่าเท่ากับศูนย์ (Zero Tare)
3) รอประมาณ30วินาทีบันทึกค่าความดันที่อ่านได้จากเครอื่ งวดั ความดนั โลหติ และคา่ ความดนั มาตรฐาน ที่ 0 mmHg แลว้ ปดิ ระบบลม
4) ปรับต้ังค่าความดันเพิ่มขึ้น 50 mmHg ปล่อยให้ความดัน 1 คงท่ี คา้ งไว้ 30 วนิ าที แลว้ บนั ทกึ คา่ ความดนั ทอี่ า่ นไดจ้ ากเครอื่ งวดั ความดนั โลหิต และ ค่าความดันมาตรฐาน
14 วิธีการสอบเทียบเครื่องวัดความดันโลหิตแบบไม่รุกล้า