Page 26 - SD REPORT อสค
P. 26

24
   ความเปน็ มา
“โคนมอาชพี พระราชทาน”
HistoryofRoyalGranted Dairy Farming Occupation.
ประวตั ศิ าสตร์ ขององคก์ ารสง่ เสรมิ กิจการโคนมแห่งประเทศไทย(อ.ส.ค.) มี จุดเร่ิมต้นจากการเสด็จประพาสทวีป ยุโรปในช่วงกันยายน พ.ศ. 2503 ของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถ บพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถพระบรมราชชนนพี นั ปี หลวง
ในคร้ังนั้นทั้งสองพระองค์ได้ทรง ประทบั แรมอยู่ ณ ประเทศเดนมารก์ และ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพติ รทรงสนพระทยั เกยี่ วกบั กจิ การการ เล้ียงโคนมของชาวเดนมาร์กเป็นอย่าง มากดว้ ยพระปรชี าญาณทที่ รงเลง็ เหน็ วา่ อาชพี การเลยี้ งโคนมจะชว่ ยใหช้ าวไทยได้ บรโิ ภคอาหารโปรตนี ราคาถกู ทม่ี คี ณุ คา่ อกี ทงั้ ยงั ชว่ ยใหเ้กษตรกรไทยไดม้ อี าชพี ที่ มนั่ คงและเปน็ หลกั แหลง่ ดว้ ยเหตนุ เ้ีองจงึ ทาให้กลายเป็นจุดเริ่มต้นของความร่วม มือด้านวิชาการการเลี้ยงโคนมระหว่าง สองประเทศก่อนหน้านั้นหนึ่งปี มร.นีลส์ กุนน่าส์ ซอนเดอร์กอร์ด ชาวเดนมาร์ก ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการผลติ สกุ รขององคก์ าร อาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ ซงึ่ ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั กรมปศสุ ตั วร์ ะหวา่ ง ปี พ.ศ. 2498 - 2502 ไดส้ งั เกตวา่ คนไทย ไมร่ จู้ กั โคนมและดมื่ นมในปรมิ าณนอ้ ยมาก หลังจากกลับไปประเทศเดนมาร์ก ในปี พ.ศ. 2502 นายซอนเดอรก์ อรด์ ไดจ้ ดั ทา โครงการฟาร์มโคนมและศูนย์ฝึกอบรม การเลี้ยงโคนมในประเทศไทยเสนอต่อ คณะกรรมการการตลาดทางการเกษตร เดนมารก์ (Danish Agricultural Marketing Board)และตอ่ มามกราคมพ.ศ.2504มคี ณะ ผเู้ ชยี่ วชาญเดนมาร์กได้มาศึกษาสารวจ พื้นที่ในการจัดตั้งฟาร์มโคนมสาธิต และ ศนู ยฝ์ กึ อบรม ณ อา เภอมวกเหลก็ จงั หวดั สระบุรีเนื่องจากเป็นหุบเขาสวยงามมี แหล่งน้าสะอาดและไม่ไกลจากตลาด กรุงเทพฯ
หลงั จากนนั้ ไดล้ งนามสญั ญาการให้ ความรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื ทางวชิ าการ การ เลี้ยงโคนมระหว่างรัฐบาลเดนมาร์กกับ รฐั บาลไทย วนั ที่ 20 ตลุ าคม พ.ศ. 2504
    “ เกษตรกรโคนม อาชีพพระราชทาน ท่ีสร้างรายได้ อย่างย่ังยืน
Dairy Farmer Royal Granted Occupation that Has Created Sustainable Income.
”
โดยรัฐบาลเดนมาร์กได้จัดสรรเงินช่วย เหลือจานวน 4.33 ล้านโครเนอร์ (หรือ ประมาณ 23.5 ลา้ นบาท ในสมยั นน้ั ) เพอื่ ดาเนินโครงการเป็นระยะเวลา 8 ปี ท้ังนี้ หลงั จากทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกา ธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้า สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนี พนั ปหี ลวง เสดจ็ นวิ ตั ประเทศไทยแลว้ ตอ่ มา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพติ รและ สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 9 แหง่ ประเทศเดนมารก์ ไดท้ รงประกอบพธิ ี เปิดฟาร์มโคนม และศูนย์ฝึกอบรมการ เล้ียงโคนม ไทย–เดนมาร์ค อย่างเป็น ทางการเมอื่ วนั ที่ 16 มกราคม 2505 จงึ นบั ไดว้ า่ เปน็ วนั ทม่ี คี วามสา คญั ยงิ่
ในประวตั ศิ าสตรข์ องการเลยี้ งโคนม ในประเทศไทย ขณะที่รัฐบาลเดนมาร์กก็ ส่งผู้เชี่ยวชาญชาวเดนมาร์กมาศึกษา ความเป็นไปได้ของการเล้ียงโคนมของ ประเทศไทย ระหวา่ งวนั ท่ี 12-24 มกราคม พ.ศ.2505 และส่งผู้เชี่ยวชาญมาร่วม ดาเนินการ ในปี พ.ศ. 2509 พร้อมกับ สนบั สนนุ เงนิ 2.87 ลา้ นโครเนอร์ อนั เปน็ การตอบสนองพระราชปณิธาน และ ความสนพระทัยในอาชีพการเลี้ยงโคนม ดว้ ย ในปี พ.ศ. 2514 รฐั บาลไทยไดร้ บั โอน กจิ การฟารม์ โคนม และศนู ยฝ์ กึ อบรมการ เล้ียงโคนม ไทย-เดนมาร์ค จัดตั้งเป็น รัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณม์ ชี อ่ื วา่ “องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การ โคนมแหง่ ประเทศไทย” (อ.ส.ค.) มสี า นกั งาน ตั้งอยู่เลขที่160 ถนนมิตรภาพ อาเภอ มวกเหลก็ จงั หวดั สระบรุ เีพอ่ื ดา เนนิ บทบาท ในการสง่ เสรมิ การเลย้ี งโคนมและพฒั นา อุตสาหกรรมนมต่อไป ต่อมารัฐบาลไทย จงึ ไดก้ า หนดใหว้ นั ท่ี 17 มกราคม ของทกุ ปี เปน็ “วนั โคนมแหง่ ชาต”ิ ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ที่ 22 ธนั วาคม 2530 และด้วยพระ วิริยะอุตสาหะอย่างทุ่มเทของพระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ รทที่ รงมี ต่อกิจการโคนมไทยดังกล่าวนานนับ ทศวรรษ พระองค์จึงทรงได้รับพระราช สมัญญาว่าทรงเป็น “พระบดิ าแหง่ การ โคนมไทย” ด้วย
  






















































































   24   25   26   27   28