Page 32 - SD REPORT อสค
P. 32

 30
   มงุ่ สู่“60ปีอ.ส.ค.”
“สบื สาน-รกั ษา-ตอ่ ยอด” โคนมอาชพี พระราชทาน
พุทธศักราช2565ถือเป็นอีกขวบปีที่ สาคัญยิ่งขององค์การส่งเสริมกิจการโคนม แห่งประเทศไทย(อ.ส.ค.)เน่ืองจากเป็นวาระ ครบรอบ“60ปีอ.ส.ค.”และเปน็ ปที อ่ี .ส.ค.ตงั้ เปา้ บรรลุ“ยุทธศาสตร์นมแห่งชาติ” ทว่าระหว่าง การเดนิ ทางดงั กลา่ วกม็ คี วามทา้ ทายตา่ งๆทเี่กดิ ขนึ้ ซึ่ง อ.ส.ค.ก็ได้เตรียมการและดาเนินการเพ่ือ เตรียมความพร้อมกับสองภารกิจสาคัญในปี 2565
ความท้าทาย
1) วิกฤติโควิด-19 : ความท้าทายหลักที่ เกดิ ในปี 2563 และเป็นปัจจัยเร่งท่ีทาให้เกิด “ดิสรัปชั่น”ในหลายมิติโดยเฉพาะการสกัดมิให้ ธุรกิจต่างๆดาเนินการได้ตามปกติผู้คนไม่ สามารถเดินทางไปมาหาสู่กันได้ ส่งผลกระทบ ในวงกว้างทั้งธุรกิจค้าปลีกโลจิสติกส์ การบิน ทอ่ งเทยี่ วฯลฯ ตลอดจนวถิ ชี วี ติ และพฤตกิ รรม ของผู้บริโภคซึ่ง อ.ส.ค. ก็เผชิญกับความ ท้าทายนี้เช่นกันด้วยการใช้มาตรการด้านสุข อนามัยอย่างเข้มข้นตลอดกระบวนการโซ่ คุณค่า ต้ังแต่ต้นน้าถึงปลายน้าพร้อมท้ังปรับ กลยุทธ์ด้วยการทาตลาดผ่านแพลตฟอร์ม อี-คอมเมิร์ซเพื่อตอบโจทย์ความเปลี่ยนแปลง ทเ่ีกดิ ขนึ้ ตลอดจนการทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตรของ อ.ส.ค.ก็ใช้มาตรฐาน SHA อันเป็นมาตรฐาน ทางดา้ นสขุ อนามยั ทกี่ ารทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศ ไทย ประกาศใช้ในช่วงวิกฤติโควิด-19อย่างไร ก็ตามสถานการณ์นี้ก็ยังคงหาจุดส้ินสุดไม่ได้ และมีโอกาสกลับมาแพร่ระบาดได้ตลอดเวลา ที่สาคัญวัคซีนท่ีจะผลิตให้ใช้ได้ในปี2564นั้น สามารถยับยั้งการแพร่ระบาดได้จริงหรือไม่ ผลิตเพียงพอกับความต้องการหรือไม่ก็ยัง เป็นประเด็นที่ท่ัวโลกยังสนใจ
2) ข้อตกลงเขตการค้าเสรี (Free Trade Area : FTA) : แม้ FTA จะช่วยขยายฐานตลาด ใหก้ บั อตุ สาหกรรมนมของไทย โดยเฉพาะในตลาด อาเซียนที่มีมูลค่าการส่งออกช่วงไตรมาส 1/2563 ประมาณ 5,592 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจาก ช่วงเดียวกันของปีก่อน13%แต่ FTAกถ็ อื เปน็ ความท้าทายด้วย เนื่องจากประเทศ ไทย จะต้องลดภาษีสินค้านมและผลิตภัณฑ์นม ให้เป็นศูนย์กับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในปี 2564 และ 2568 จากเดิมที่ไทยยังใช้มาตรการ โควตาภาษีและมาตรการปกป้องพิเศษ เพื่อให้ สนิ คา้ เกษตรทมี่ คี วามออ่ นไหวรวมทงั้ ภาคการ ผลติ และอตุ สาหกรรมโคนมของไทยมเี วลาปรับ ตัว ขณะที่ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ลด
ภาษีสินค้าทุกรายการให้กับไทยเหลือศูนย์ แลว้ ตงั้ แต่ วนั ที่ 1 มกราคม 2558 ดงั นน้ั อ.ส.ค. จงึ มภี ารกจิ สา คญั ทจ่ี ะตอ้ งยกระดบั อตุ สาหกรรม นมต้ังแต่ต้นน้า กลางน้า ปลายน้าเพ่ือพัฒนา ศักยภาพคุณภาพการผลิตนมและผลติ ภณั ฑ์ นมของไทยให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดต่าง ประเทศเพื่อใช้ประโยชน์จาก FTA
แกร่งจากภายใน
จากความท้าทายดังกล่าว และความ ท้าทายอื่นๆที่อาจอุบัติขึ้นในอนาคต อ.ส.ค.ได้ ปรับกลยุทธองค์กรเพื่อสร้างความแข็งแกร่ง จากภายในให้สามารถเดินหน้าสู่วาระ “60ปี อ.ส.ค.” และเพื่อให้บรรลุ “ยุทธศาสตร์นมแห่ง ชาติ” ได้อย่างม่ันคงและมุ่ง “สืบสาน รักษา ต่อยอด” โคนมอาชีพพระราชทานให้อยู่ใน สังคมไทยตลอดไปในมิติต่างๆดังน้ี
1) การปรับตนเองจากในกระบวนการ ทางาน (In Process)
• การปรับเปล่ียนกระบวนการทางานและ โครงสร้างองค์กรเพื่อความเหมาะสมกับ ความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ด้วยการขยายหน่วยงานต่างๆ อาทิ
• ส่วนงานท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเพ่ือ ความยั่งยืน (Sustainable Development) อันเป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อ “ผู้คน องค์กร-โลก” (People-Profit-Planet) ตาม กรอบของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, การพัฒนาเพ่ือความยั่งยืนขององค์การ สหประชาชาติ (SDGs),มาตรฐาน ISO 26000
• ส่วนงานดิจิทัลเพ่ือการปฏิรูปองค์กร สู่ดิจิทัล
• ส่วนงานวิเคราะห์ความเส่ียงเพ่ือรับมือ กับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ รวมท้ังความ เปลี่ยนแปลงอย่างท่ีไม่คาดคิด เช่น โควิด-19
• ส่วนงานควบคุมการสูญเสีย(Waste) เพื่อการควบคุมต้นทุนตลอดจนแสดงความ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม,การเตรียมพร้อม บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ,การ สร้างการมีส่วนร่วมอันเป็นภารกิจส่วนหนึ่ง ของการกากับดูแลกิจการท่ีดี
• การดาเนินงานภายใต้กรอบมาตรฐาน อย่างเคร่งครัดสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน กาหนดไม่ว่าจะเป็นมาตรฐาน ISO 26000, SCGs อันเป็นกรอบการพัฒนาเพื่อความ ย่ังยืนขององค์การสหประชาชาติ, E n a b l e r s 8 ด้านของ สคร. (SE-AM TRIS) ซึ่งประกอบ
ด้วยการกากับดูแลกิจการท่ีดี และการนา องค์กร, การวางแผนเชิงกลยุทธ์, การบริหาร ความเสี่ยงและการควบคุมภายใน,การมุ่ง เน้นลูกค้า, การมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย, การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล, การบริหารทุน มนุษย์, การจัดการความรู้ การจัดการ นวัตกรรม และการตรวจสอบภายในพร้อม ท้ังมีเป้าหมายประเมินผลลัพธ์ (Outcome) ที่มีต่อเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
• การลดความสูญเสียและมุ่งนาแนวคิด เศรษฐกิจหมุนเวียนมาใช้ในทางปฏิบัติ อาทิ โครงการหลังคาเขียวที่นากล่องนมใช้แล้วมา ผ่านกระบวนการเพ่ือนากลับมาใช้เป็นหลังคา ให้กับโรงเรียนต่างๆ
•การสนับสนุน การดาเนินงานเชิงวิชา การ การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาขีด ความสามารถด้านอุตสาหกรรมโคนมให้กับ เกษตรกรและสหกรณ์ให้สามารถดาเนินการ ทางธุรกิจและแข่งขันได้อีกท้ังเป็นเตรียม ความพร้อมในกรณีท่ีประเทศไทยต้องลด ภาษีสินค้านม และผลิตภัณฑ์นมให้เป็นศูนย์ กับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในปี 2564 และ 2568 ด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทั้งจากนม โคสด100% และจากการใชว้ ตั ถดุ บิ อนื่ ประกอบ เพื่อให้มีความหลากหลายมากขึ้น และเพ่ือ รองรับปริมาณน้านมดิบเกษตรกรท่ีเพิ่มขึ้น ในอนาคต
• การเตรยี มการจดั ตงั้ “สภาธรรมาภบิ าล” เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมปกป้อง ผลประโยชน์และสร้างภูมิคุ้มกันให้องค์กร ปราศจากอานาจแทรกแซงท้ังภายในและ ภายนอก เพ่ือทาหน้าท่ีเสริมสร้างค่านิยม และ วัฒนธรรมองค์กรด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และเพอื่ เปน็ กลไกหนงึ่ ในการดาเนินงานอย่าง โปร่งใสเป็นธรรมป้องกันการทุจริตคอร์รัปช่ัน ในองค์กรโดยสมาชิกสภาฯมาจากการเลือก ต้ังจากหน่วยงานต่างๆภายในองค์กร เพ่ือทา หนา้ ทสี่ อื่ สารงานดา้ นธรรมาภบิ าลรบั ฟงั ขอ้ มลู ปญั หา ขอ้ เสนอแนะ และสะทอ้ นความคดิ เหน็ ของ พนักงานผ่านสภาฯ ไปยังผู้บริหารเพื่อสร้าง ธรรมาภิบาลในองค์กร
2) การปรับตนเองจากหลังกระบวนการ ทางาน (After Process)
• การสร้างเสถียรภาพด้านราคาน้านม ดิบโดยใช้ข้อมูลและกลไกตลาดในการวางแผน การส่งเสริม และการผลิต
• การมองหาพันธมิตรเชิงยุทธศาสตร์
  










































































   30   31   32   33   34