Page 10 - จุลสารลำน้ำชี
P. 10

 น้าชี: สายนำ้าสายชีวิต ดร.สมศักดิ์ สุขวงศ์
“สายนา้ - แมน่ า้ ” เปรยี บเสมอื น “รบิ บนิ้ แหง่ ชวี ติ ” และเปน็ ศนู ยก์ ลางการตง้ั รกรากของชาว ไทย ซงึ่ จะสรา้ งความอดุ มสมบรู ณ์ เปน็ ทรี่ วมแหง่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ และหลอ่ เลยี้ งชวี ติ ผคู้ น
โลกปัจจุบันให้ความสนใจการจัดการทรัพยากรน้าอยู่ 4 เรื่องสาคัญ คือ มีแนวโน้มการจัดการแม่น้า เพื่อให้เกิดผลผลิตของน้าท่า หรือน้าในแม่น้า (stream flow) มีการติดตามคุณภาพน้า เกี่ยวกับสารเคมีที่ละลายอยู่ในน้า ปุ๋ยส่วนเกิน และมลพิษทางน้า
ต่าง ๆ
ใหค้ วามสนใจกบั พน้ื ทช่ี มุ่ นา้ (wetland) ทสี่ ามารถกกั เกบ็ นา้ ไดใ้ นฤดนู า้ หลาก เชน่ พนื้ ทลี่ มุ่
ริมแม่น้า นาข้าว ซึ่งสามารถผันน้าเข้าไปกักเก็บไว้ได้ อีกทั้งสามารถช่วยลดและชะลอปัญหาน้าท่วม ซง่ึ ทวคี วามรนุ แรงมากขนึ้ ได้ ภายใตส้ ภาวะการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ ดแู ลพชื พรรณรมิ นา้ (riparian vegetation) ที่ช่วยลดการกัดเซาะฝั่งน้า และเป็นเครื่องกรองที่มีชีวิต (biofilter)
เพ่ิมความสนใจเก่ียวกับถ่ินท่ีอยู่ที่เป็นแหล่งน้า (aquatic habits) มากขึ้น เช่น หนอง บึง กุด สระ ไม่ว่าจะเกิดข้ึนตามธรรมชาติ หรือมนุษย์สร้างข้ึน
ท้ังนี้ การเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดิน (land uses) พึงต้องระวังมากขึ้น เนื่องจากทุกวันนี้ เราเทคอนกรีตสร้างถนนหนทางมากมาย ขยายนิคมอุตสาหกรรม จนน้าไม่สามารถซึมลงไปเก็บใน ดินได้ อุณหภูมิของโลกที่เพ่ิมขึ้น 1oC จะทาให้น้าระเหยเข้าสู่บรรยากาศเพิ่มขึ้น 7% อากาศอุ้มน้า มากข้ึน เม่ือกล่ันตัวเป็นน้า ทาให้ปริมาณน้าฝนตกแต่ละคร้ังหนักมาก เกิดน้าท่วมรุนแรงในประเทศ เช่น ขณะที่เขียนรายงานอยู่น้ี
เทอื กเขาพนมดงรกั ทที่ อดตวั ยาวจากตะวนั ออกสตู่ ะวนั ตก ขวางทางลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ผา่ นเขมรตา่ ปะทะหนา้ ผาสงู ชนั ของพนมดงรกั อากาศไตเ่ ขาขน้ึ มา อณุ หภมู ลิ ดลง ไอนา้ กลนั่ ตวั เปน็ ฝน ทาให้ฝนตกหนักเป็นฝนภูเขา (Orographic precipitation) ทาให้ฝนตกเฉลี่ยถึง 1,400 ม.ม. ต่อปี
แต่ส่ิงที่ตามมาคือ เกิดพื้นที่อับฝนในแอ่งโคราชท่ีฝนตกเฉลี่ยราว 1,000 -1,100 ม.ม. ต่อปี บริเวณเทือกเขาพนมดงรักเกิดป่าดงแล้ง หรือดิบแล้ง แต่ป่าส่วนใหญ่ของลุ่มน้ามูลเป็นป่าผลัดใบ เต็งรัง ความแตกต่างนี้ทาให้ลาน้าชีเป็นสายน้าท่ีสาคัญต่อหลายเมืองในภาคอีสานที่แม่น้าไหลผ่าน
เนื่องจากปริมาณน้าฝนท่ีเพิ่มมากขึ้นจากเทือกเขาพนมดงรัก ทาให้เกิดพื้นท่ีชุ่มน้าหลายแห่ง อย่างพ้ืนที่ที่มีคาเรียกต่าง ๆ ดังน้ี
“พื้นท่ีชุ่มน้า” หรือพื้นที่ซ่ึงมีน้าท่วมขังตลอดท้ังปี หรือในบางฤดูกาลก็ได้ เราสามารถบอก ได้ว่า ที่ใดเป็นพื้นที่ชุ่มน้า โดยดูจากพืชที่ปรับตัวขึ้นตามท่ีแฉะ เช่น บอน, เตย, กก, คล้า เป็นต้น
         6
รวมพลังเครือข่ายลน้าชี: สายธารธรรมชาติและวัฒนธรรมไม่มีสิ้นสุด





















































































   8   9   10   11   12