Page 29 - จุลสารลำน้ำชี
P. 29

  ชุมชนตาบลเช้ือเพลิง อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็นชุมชน ชาวไทยเชอ้ื สายเขมร ใชท้ งั้ ภาษาไทยและเขมรในการสอื่ สาร คนสว่ นใหญ่ ทาเกษตร เป็นการทานาปีละคร้ัง ปลูกผักและทาไร่นอกฤดูทานา รวมท้ังเลี้ยงสัตว์
ลักษณะพ้ืนท่ีต้ังชุมชนที่อยู่เขตอับฝน ปริมาณฝนตกน้อย ชุมชน ประสบปัญหาขาดแคลนน้ากินและใช้ โดยเฉพาะช่วงหน้าแล้ง มีความ พยามยามแกไ้ ขปญั หามาโดยตลอด กระทง่ั ผนู้ า ชมุ ชนนา การพฒั นาและ ประยุกต์แนวคิด “ป่า นา น้า” เพ่ือบริหารจัดการน้าและสิ่งแวดล้อม โดยรอบ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ
เริ่มจากการรักษาป่าตาเกาว์ซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะประโยชน์ ชาวบา้ นไดใ้ ชเ้ ลยี้ งสตั ว์ เกบ็ หาอาหาร และจบั ปลาในหนองนา้ บรเิ วณดงั กลา่ ว แต่ในปี พ.ศ. 2526 ทั้งคนในชุมชนและคนจากต่างถิ่นกว่า 280 ราย เริ่มเข้ามาจับจองและบุกรุกเพื่อทานา ผู้นาชุมชนและชาวบ้านซึ่งเป็น คณะกรรมการหมบู่ า้ นรว่ มกนั ตา้ นการเขา้ ยดึ ครองทดี่ นิ อยา่ งไมถ่ กู ตอ้ งนี้ โดยพูดคุยทาความเข้าใจกัน และขอพื้นที่คืนเป็นของส่วนรวม
หลงั จากไดพ้ นื้ ทกี่ ลบั คนื มาไดจ้ ดั ทา ขอ้ ตกลงรว่ มกนั ในการบรหิ าร จดั การการใชพ้ นื้ ทสี่ าธารณะประโยชน์ ทงั้ ปา่ ทรี่ าบ ทงุ่ หญา้ และหนองนา้ กา หนดกตกิ าการใชป้ ระโยชน์ และวางแผนการดแู ลรกั ษาปา่ โดยการขดุ คลองรอบป่าเป็นระยะทาง 18 กิโลเมตร เพื่อป้องกันการบุกรุก รวมถึง การปลูกต้นยูคาลิปตัสเป็นแนวกันชนไว้
ป่าคืนมาแล้วนาไปสู่การพัฒนาแหล่งน้าธรรมชาติที่อยู่โดยรอบ 5 แห่ง คือ ห้วยตระเกียด ห้วยยวน ห้วยเสม็ด ห้วยโสนกกาเพลิง หนองปะเตียล ต่อมาการขุดแหล่งน้าเพิ่มอีก 8 แห่ง คือ ห้วยระไซร์ หนองตะก๊าก หนองตะเตรบ หนองตะเกีย หนองเกีย หนองโคกกรวด หนองคล็อง และหนองยายตุ๊ เพิ่มความสามารถในการกักเก็บน้า
ทั้งนี้ สิ่งสาคัญไม่ใช่การเก็บน้าไว้มาก ๆ แต่จะต้อง “แจก” หรือ “กระจายน้า” อย่างทั่วถึง เพื่อใช้บริโภคและในพื้นที่การเกษตร เกิดเป็นรูปแบบและวิธีการดาเนินการหลากหลายลักษณะสอดคล้อง กับภูมิศาสตร์ ศักยภาพ และความต้องการของแต่ละพื้นที่ ทาให้การ กระจายนา้ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในการพฒั นา โครงสร้างพื้นฐานของชุมชน
  รวมพลังเครือข่ายลน้าชี: สายธารธรรมชาติและวัฒนธรรมไม่มีสิ้นสุด 25




























































































   27   28   29   30   31