Page 36 - จุลสารลำน้ำชี
P. 36
หลวงปู่รักป่า :
พระครูประสาทพรหมคุณ (หลำวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ)
นับแต่สมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าเสด็จ ออกผนวช บาเพ็ญเพียร และตรัสรู้บรรลุธรรม สูงสุดท่ามกลางพงไพร ท่านจึงได้ยกย่องให้ป่า เป็น “พระอาจารย์” และความสาคัญของป่า ท่ีเป็นแหล่งอาหาร น้า อากาศ สมุนไพรรักษา โรค ดังนั้น ถือได้ว่า “ผู้ใดรักษาป่า” น่ันคือ “ผู้ปฏิบัติธรรม”
วถิ ที ผี่ กู พนั ระหวา่ ง “พระสงฆ”์ กบั “ปา่ ” คงดา เนนิ สบื ตอ่ มาในกาลปจั จบุ นั ดงั ท่ีหลวงปหู่ งษ์ หรือ พระครูประสาทพรหมคุณ ได้รับเป็นหน่ึง ในกิจของสงฆ์ สร้าง “ป่า” เป็น “ธรรมปฏิบัติ”
หลวงปู่หงษ์เป็นชาวสุรินทร์โดยกาเนิด เกิดเม่ือปี พ.ศ. 2560 ท่ีบ้านทุ่งมน ตาบลทุ่งมน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เริ่มบวชเรียน ต้ังแต่วัยรุ่นอายุ 18 ปี จากนั้นก็ออกธุดงค์
เรื่อยไปตามเขาจนถึงประเทศกัมพูชาเมื่ออายุ 35 ปี กระทั่งกลับมาจาพรรษาที่วัดเพชรบุรีในปี 2517 ซึ่งเป็นปีเดียวกับท่ีป่าในตาบลทุ่งมน และตาบลสมุดได้รับการประกาศเป็น “ป่าสงวน แห่งชาติป่ากาใสจาน”
“ปา่ กา ใสจาน” เปน็ ปา่ ผสมผลดั ใบตดิ กบั ลา นา้ ชี กอ่ นนถี้ กู สมั ปทานไมไ้ ปทา หมอนรถไฟตงั้ แต่ ปี 2470 โดยการตัดไม้ไปขายท่อนละ 4 บาท และบางส่วนตัดเผาถ่าน ไม้ในป่าถูกตัดและชักลาก จนปา่ โลง่ และเสอ่ื มโทรม ชาวบา้ นเขา้ ไปจบั จองเปน็ พนื้ ทท่ี า กนิ กระทง่ั ประกาศเปน็ เขตปา่ สงวนแลว้ ก็ยังเห็นการทาลายป่า ซึ่งสักวันป่าจะหมดแน่ หลวงปู่จึงเริ่มกิจด้านการอนุรักษ์ป่า
ส่ิงแรกท่ีทา คือ แนวเขตป่าแยกจากพ้ืนที่ทากินของชาวบ้าน โดยการนาหินแลงก้อนเล็ก ก้อนใหญ่ที่มีมากมายในบริเวณน้ันไปวางล้อมเป็นร้ัวล้อมป่า
แรงงาน คือ พระลูกวัด เณรน้อย และชาวบ้านในชุมชนช่วยกัน
แลว้ อาศยั การเทศนาสอนธรรม อนั เปน็ กจิ ของสงฆส์ อดแทรกขอ้ คดิ เรอ่ื งธรรมชาติ สรา้ งการรบั รู้ ความเขา้ ใจถงึ ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของปา่ ทง้ั แหลง่ อาหาร ยา สมนุ ไพร บางครง้ั ไดพ้ าชาวบา้ นเขา้ ไป ทาบุญในป่า หรือที่เรียกว่า “กินข้าวกลางป่า”
ส่ิงท่ีหลวงปู่ให้เป็นคติธรรมแก่ญาติโยมนั้นเรียบง่าย เป็นธรรมชาติ ดังท่ีท่านว่า
32 รวมพลังเครือข่ายลน้าชี: สายธารธรรมชาติและวัฒนธรรมไม่มีสิ้นสุด