Page 6 - จุลสารลำน้ำชี
P. 6

 ก่อนำจะเป็นำเครือข่ายลน้าชี กุลวดี จันทรปาน
จิตต์ปภัสสร์ ปวรดุลยวัต
ลา ช,ี ลา ภาชี หรอื ลา นา้ ชี ความหลากหลายของชอื่ เรยี กทมี่ ตี อ่ ตน้ นา้ จากเทอื กเขาพนมดงรกั ทิวเขาพรมแดนระหว่างประเทศไทยและกัมพูชา ก่อนลัดเลาะเข้าสู่ที่ราบแอ่งโคราช เกิดเป็นลาน้า ท่ีไหลจากทิศใต้ขึ้นสู่ทิศเหนือ เหมือนเส้นแบ่งเขตทางธรรมชาติ ระหว่างจังหวัดบุรีรัมย์และสุรินทร์ ซึ่งประกอบด้วยชุมชนหลากหลายชาติพันธุ์ ได้แก่ ลาว เขมร และกูยที่อยู่ร่วมกับลาน้าสายนี้ มายาวนาน
ตลอดรมิ นา้ สรา้ งระบบนเิ วศอดุ มสมบรู ณท์ ส่ี ดุ ในภมู ทิ ศั นท์ เี่ รยี กวา่ “ปา่ รมิ นา้ ” ดร.สมศกั ดิ์ สขุ วงศ์ กล่าวถึงคุณค่าของป่าลักษณะนี้ว่า ช่วยดูดซับปุ๋ยธรรมชาติ และธาตุอาหารจากน้าท่ีไหลหลากและ ระบบนิเวศป่าบกข้างเคียง หรือแม้กระทั่งสารเคมีในแปลงเพาะปลูกบริเวณใกล้เคียง แม้ป่าริมน้า จะมีน้อยท่ีสุดในภูมิทัศน์ แต่ก็เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ขนาดเล็กมากมาย พืชพันธุ์ท่ีเติบโตได้สูงกว่า หนาแนน่ กวา่ ซบั ซอ้ น และหลากหลายกวา่ ดงั นน้ั จงึ ชว่ ยเพมิ่ ความสมบรู ณข์ องพชื อาหารและสตั วน์ า้ ทไี่ ดอ้ าศยั หากนิ และหลบภยั จากนกั ลา่ อกี ทง้ั อณุ หภมู ขิ องปา่ รมิ นา้ กไ็ มส่ ดุ โตง่ หนา ซา้ ออกจะเยน็ สบาย และชุ่มชื้นกว่าบริเวณข้างเคียง ทาให้เหมาะเป็นแหล่งพักผ่อนและทากิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ
ไม่น่าแปลกเลยว่า ประวัติศาสตร์การก่อร่างสร้างบ้านเรือน และเมืองใหญ่ที่เป็นแหล่งกาเนิด อารยธรรมของโลก รวมถึงประเทศไทยล้วนเร่ิมต้นท่ีริมแม่นา้ เช่นเดียวกับสองฝั่งลา น้าชีท่ีมีความ อุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ และระบบนิเวศจึงดึงดูดผู้คนท่ีมีความหลากหลายให้เข้ามาอยู่อาศัย ทากินตั้งแต่ต้นน้าถึงปลายน้า
      2
รวมพลังเครือข่ายลน้าชี: สายธารธรรมชาติและวัฒนธรรมไม่มีสิ้นสุด




























































































   4   5   6   7   8