Page 48 - SMM 01-1
P. 48

SMM 01-1 วิธีการมาตรฐานสาหรับเครื่องมือแพทย์
ภาคผนวก ข ความไม่แน่นอนของการวัด
การประเมินค่าความไม่แน่นอนของผลการวัดในแต่ละห้องปฏิบัติการ อาจจะมีการประเมินท่ีแตกต่างกันข้ึนกับปัจจัยของห้องปฏิบัติการ ดังน้ัน การประเมินค่าความไม่แน่นอนในคู่มือฉบับนี้ จึงเป็นเพียงข้อแนะนา เพื่อใช้เป็น แนวทางการคานวณเท่านั้น
ในการประเมินค่าความไม่แน่นอนของผลการวัด ควรมีองค์ประกอบ อย่างน้อย ดังนี้
- ความไม่แน่นอนของการวัดซ้า (Repeatability)
- ความไม่แน่นอนเนื่องจากเครื่องมือวัด
- ความไม่แน่นอนท่ีเป็นผลเนื่องจากผลกระทบของสภาวะแวดล้อม - ความไม่แน่นอนของการปัดค่าทศนิยม
- ความไม่แน่นอนอื่นๆ (ถ้ามี)
1) ตัวอย่างองค์ประกอบความไม่แน่นอนของการสอบเทียบความถี่
 โดยที่ FD
FM คือ
δFM_ACC คือ δFM_Res คือ
δFM_Rep คือ FS คือ
38 วิธีการสอบเทียบเคร่ืองตรวจสมรรถภาพการได้ยิน แบบนาเสียงผ่านอากาศ ใช้ร่วมกับหูฟังชนิดครอบใบหู
คือ ค่าเบี่ยงเบนของความถี่ท่ีวัดได้จากค่าท่ีปรับต้ัง บนเครื่องตรวจสมรรถภาพการได้ยิน
ความถี่ที่วัดได้จากเคร่ืองมือวัดมาตรฐาน ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากเครื่องมือวัด มาตรฐาน ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากค่าความละเอียด ของการแสดงผล ค่าความคลาดเคล่ือนเนื่องจากความสามารถ ในการกระทาซ้า ความถี่ที่ตั้งบนเครื่องตรวจสมรรถภาพการได้ยิน



















































































   46   47   48   49   50