Page 59 - SMM 01-1
P. 59

วิธีการมาตรฐานสาหรับเครื่องมือแพทย์ SMM 01-1
2.5) ค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากความดันบรรยากาศ พิจารณาจากค่าสัมประสิทธ์ิ ความดัน (Pressure Coefficient) ซ่ึงถูกระบุไว้ในใบรายงานผลการสอบเทียบ ไมโครโฟนมาตรฐาน หรือหาข้อมูลจากผู้ผลิต โดยจะประเมินเป็นค่าเบ่ียงเบนของ ความดันบรรยากาศขณะที่ทาการวัดจากความดันบรรยากาศอ้างอิง (Reference Pressure) คือ 101.32 kPa นอกจากนี้จะต้องพิจารณาองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องร่วมด้วย โดยสรุปค่าความไม่แน่นอนเน่ืองจากความดัน มีส่วนประกอบ ดังนี้
- ความเบี่ยงเบนของความดันบรรยากาศขณะท่ีทาการวัดจากความดัน บรรยายกาศอ้างอิง (101.32 kPa) (uSPL_P_DT) พิจารณาจากความดัน บรรยากาศขณะทที่ า การวดั หรอื อาจจะใชค้ า่ เบย่ี งเบนสงู สดุ ของความดนั บรรยากาศที่ห้องปฏิบัติการควบคุม
- ความถูกต้องของค่าสัมประสิทธ์ิความดัน (uSPL_P_Coef) ข้อมูลสามารถหา ได้จากผู้ผลิต
- ความถกู ตอ้ งของเครอื่ งมอื วดั ความดนั (uSPL_P_ACC)พจิ ารณาจากคณุ สมบตั ิ ทางเทคนิคของเครื่องมือ
- ความละเอยีดของสว่นแสดงคา่ความดนับรรยากาศของเครอ่ืงวดัความดนั
(uSPL_P_Res)
คา่ ความไมแ่ นน่ อนเนอื่ งจากความดนั บรรยากาศ เปน็ การกระจายขอ้ มลู แบบ
สี่เหลี่ยมผืนผ้า (Rectangular Distribution) ตัวอย่าง
- การประเมินค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากความเบี่ยงเบนของความดัน บรรยากาศขณะทท่ี า การวดั จากความดนั บรรยากาศอา้ งองิ (uSPL_P_DT) ห้องปฏิบัติการ มีการควบคุมความดันบรรยากาศของห้องปฏิบัติการที่ (101.32±1.5) kPa และค่า สมั ประสทิ ธค์ิ วามดนั ทคี่ วามถ่ี 1 kHz มคี า่ เทา่ กบั 0.0051 dB/kPa การกระจายตัว ของข้อมูลเป็นแบบสเี่ หลยี่ มผืนผ้า จึงหารด้วย √3
วิธีการสอบเทียบเครื่องตรวจสมรรถภาพการได้ยิน 49 แบบนาเสียงผ่านอากาศ ใช้ร่วมกับหูฟังชนิดครอบใบหู
  























































































   57   58   59   60   61