Page 19 - แผนปฏิบัติราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
P. 19

    ปัจจัย    จุดแข็ง (Strengths)        จุดอ่อน (Weaknesses)          ผู้บริหาร และการดําเนินงานตามยุทธศาสตร์ ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ      4. ทักษะ (Skills)  บุคลากรมีทักษะความรู้ ความเชี่ยวชาญ เฉพาะ อาทิ ด้านการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ ด้านการส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติ ด้านการ คุ้มครองผู้บริโภค ด้านการประชาสัมพันธ์    บุคลากรบางส่วนยังไม่ได้รับการพัฒนาทักษะ ที่ทันสมัยทางด้านเทคโนโลยีในการพัฒนาการ ดําเนินงาน      5. บุคลากร (Staff) บุคลากรมีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ พิเศษที่ได้รับมอบหมายในภาวะเร่งด่วน ▪ มีบุคลากรเกษียณอายุราชการจํานวนมาก และบุคลากรที่เข้ามาทดแทนยังขาด ประสบการณ์ ▪ บุคลากรมีอัตรา Turn over สูง ทําให้ ขาดบุคลากรในการทํางาน      6. รูปแบบ (Style)  รูปแบบการทํางานยึดกรอบของกฎหมายเป็น สําคัญ      รูปแบบการทํางานมีการนําใช้เทคโนโลยี ไม่ครอบคลุม อาจส่งผลให้ไม่สอดรับกับการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น    7. คุณค่าร่วมกัน (Share Values)    วัฒนธรรมองค์กรแบบพี่น้อง การทํางานเน้น ความโปร่งใสตรวจสอบได้ สามัคคี       -     การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กรโดยใช้เครื่องมือ PEST Analysis     ปัจจัย    โอกาส (Opportunities)       ภัยคุกคาม (Threat)     ๑. ปัจจัยด้าน การเมือง (Political factors)  เป็นหน่วยงานกลางที่มีความใกล้ชิดรัฐบาล จึงมีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนนโยบาย ของรัฐบาล    ▪ การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองส่งผลให้ ดําเนินงานได้อย่างไม่เต็มศักยภาพ ▪ การแทรกแซงทางการเมือง อาจส่งผลต่อ การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการประจํา/ ระดับสูง     ๒. ปัจจัยด้าน เศรษฐกิจ (Economic factors)   การแข่งขันทางการค้าที่เพิ่มสูงขึ้น ทําให้ หน่วยงานในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี มีบทบาทในการทํางานที่มากยิ่งขึ้น    ▪ ภาวะฟื้นตัวทางเศรษฐกิจภายหลังจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค- ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อาจส่งผล กระทบต่อความสามารถในการชําระหนี้ ของผู้บริโภคที่เกิดจากการเช่าซื้อสินค้า หรือบริการ รวมถึงการทําสัญญาต่าง ๆ จนเป็นสาเหตุให้เกิดการร้องเรียนเพิ่มขึ้น ▪ ความผันผวนทางเศรษฐกิจส่งผลต่อ การบริหารงบประมาณที่สํานัก- นายกรัฐมนตรี ได้รับในการบริหาร จัดการองค์กร    20 


































































































   17   18   19   20   21