Page 116 - E-Book-Music
P. 116

 110
                                    สัญลักษณ์ทํางดนตรี
การอา่ นโนต้ หรอื บทเพลงตา่ ง ๆ ผเู้ รยี นจะตอ้ งจา สญั ลกั ษณท์ างดนตรใี หแ้ มน่ จงึ ตอ้ งทา ความ รู้จักกับเครื่องหมายและสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในบทเพลงก่อนและต้องทบทวนให้แม่นยา ฝึกซ้อมเป็น ประจาอย่างสม่าเสมอจึงจะเกิดผล
สญั ลกั ษณห์ รอื เครอื่ งหมายทางดนตรมี อี ยหู่ ลากหลาย ซงึ่ จะตอ้ งพบในการปฏบิ ตั เิ ครอื่ งดนตรี เครื่องหมายที่พบเห็นบ่อยและเป็นที่ควรรู้จัก มีดังนี้
กญุ แจเทรเบลิ้ หรอื กญุ แจซอล (G clef) สญั ลกั ษณท์ างดนตรชี นดิ หนงึ่ ที่ใช้แสดงถึงระดับเสียงของตัวโน้ตที่บันทึก จะเป็นตัวบ่งบอกชื่อและ ระดับเสียงของตัวโน้ตที่อยู่บนเส้นนั้น ซึ่งกุญแจซอลคาบเส้นที่ 2 นับจาก เส้นล่างของบรรทัดห้าเส้น โน้ตทุกตัวที่คาบเส้นที่ 2 จะมี เสียงเป็นเสียงเดียวกับกุญแจ คือ เสียงซอล
กุญแจเบส หรือ กุญแจฟา (F clef) เป็นเครื่องหมายประจาหลักที่ใช้ กันมากสาหรับเสียงของเครื่องดนตรีที่มีเสียงต่า ซึ่งกุญแจฟาคาบเส้น ที่ 4 นับจากเส้นล่างของบรรทัดห้าเส้น โน้ตทุกตัวที่คาบเส้นที่ 4 จะ มีเสียงเป็นเสียงเดียวกับกุญแจ คือ เสียงฟา
อัตราจังหวะธรรมดา (Common time) ใช้แทนเครื่องหมายกากับ จังหวะ 4/4 ซึ่งเป็นอัตราจังหวะที่ใช้มากท่ีสุด
rict.
     c
อัตราจังหวะอัลลา เบรเว (Alla breve) หรือ (Cut time) ซึ่งโน้ต ตัวขาวมีค่าเท่ากับ 1 จังหวะ แสดงค่าของอัตราจังหวะสอง หรือการ แบ่งหน่วยจังหวะเป็น 2 ส่วน ใช้แทนเคร่ืองหมายกากับจังหวะ 2/2
เคร่ืองหมายริเตนูโต (Ritenuto) ให้ค่อยๆ ผ่อนจังหวะช้าลงทีละเล็ก ละน้อย
เครื่องหมายเชื่อมเสียง สเลอร์ (Slur) เส้นโค้งที่เขียนไว้ด้านบนของ ตัวโน้ต ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป มีไว้สาหรับเช่ือมกลุ่มตัวโน้ตที่ต่างระดับกัน หรือคนละเสียง
  






















































































   114   115   116   117   118