Page 106 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 106

     ภําพท่ี 2-53 การจัดองค์ประกอบ ของรูปทรงสถาปัตยกรรม ท่ีหลากหลายให้เป็นเอกภาพ
การจัดองค์ประกอบของรูปทรงสถาปัตยกรรมเจดีย์จุฬามณีของพุทธศาสนากับมัสยิดของศาสนาอิสลาม ให้มี ความเอกภาพ ด้วยเน้ือหาเรื่องราว ท่ีแสดงถึงความเช่ือว่าพระเป็นเจ้าจะอยู่ทุกที่ช่ัวนิรันดรเกิดความเป็นเอกภาพของ เน้ือหาทั้ง 2 ศาสนา แสดงออกภาพเจดีย์จุฬามณีคล้ายมัสยิดของศาสนาอิสลามผสมกับเจดีย์ของศาสนาพุทธ แสดงถึงการ อยู่ร่วมกันพ่ึงพาอาศัยกัน ร่วมใจต้ังจิต ตามความเชื่อในการทาความดีก็จะพบกับเทพเทวดาของตนเองที่นับถือ พบกับดิน แดนสวรรค์แห่งความสุข สงบเช่นเดียวกัน จากจิตรกรรมฝาผนังวัดโคกเคียน จังหวัดปัตตานี
2.6 สัญลักษณ์ของการแสดงออกภาพปริศนาธรรม
ศิลปะหรือความงามเป็นนามธรรมที่แสดงด้วยรูปทรง เป็นผลิตผลการประสานกันอย่างแนบเนียนของ ทัศนธาตุต่างๆ ผู้ที่จะเข้าใจเน้ือหาของงานได้ถูกต้อง คือ ผู้ท่ีเข้าใจคุณค่าของรูปทรงเป็นอย่างดีมาแล้ว มิฉะน้ันเน้ือหาก็จะ เป็นเพียงเร่ืองแบบนิทาน (ชลูด น่ิมเสมอ, 2534: 251)
- แนวเร่ือง + รูปทรง + เทคนิค = งานศิลปะ
- แนวเรื่อง + เทคนิค = รูปทรง
- รูปทรง + เทคนิค = แนวเร่ือง
แนวเรื่อง คือ จุดบันดาลใจหรือเร้าให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจแก่ศิลปิน
แนวเรื่อง คือ จุดนาผู้ดูให้เข้าถึงเนื้อหาภายนอกของงานศิลปะ
แนวเร่ือง คือ ส่ิงที่ผู้ศึกษาจะต้องพัฒนาด้วยตนเองควบคู่ไปกับการศึกษาฝึกฝนทางรูปทรง ผู้ศึกษาควรเดินทางสายกลาง คือ ศึกษาธรรมชาติ เพื่อเข้าใจรูปทรง และอารมณ์พร้อมกันไปกับฝึกฝน
การแสดงออกของอารมณ์อย่างอิสระหรือสร้างรูปทรงขึ้นเองอย่างเสรี
รูปทรงในธรรมชาติเป็นจุดบันดาลใจ เป็นแนวเร่ืองต่างๆ ที่จะนามาสร้างสรรค์งานได้อย่างไม่จากัด
แต่รูปทรงในธรรมชาติไม่ใช่รูปทรงที่มีความหมายสมบูรณ์ ศิลปินต้องเลือกใช้ และคลี่คลายไปตามจุดมุ่งหมายของตน (ชลูด น่ิมเสมอ, 2534: 270)
       96
                




















































































   104   105   106   107   108