Page 137 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 137
1.6 สัญลักษณ์ของกํารแสดงออกภําพปริศนําธรรม สัญลักษณ์ของกํารแสดงออก แนวเร่ืองปฏิจจสมุปบําท
มีสภาวะการเกิด 2 สภาวะ คือ สภาวะท่ีให้เกิดทุกข์ กับสภาวะท่ีไม่เกิดทุกข์
กํารจัด องค์ประกอบศิลป์
สัญลักษณ์ของกําร แสดงออก
เนื้อหําสําระ
แนวเรื่อง (อํารมณ์)
ธรรมจักร คือ ความว่าง สงบ การเขียนภาพ วง ล้อแห่งธรรม ด้วยเทคนิค การระบายสีเรียบและตัด เส้นแสดงรายละเอียด
ธรรมจักร เครื่องหมายแห่งความว่าง สงบ เป็นแสงฉัพพรรณรังสี เปล่งแสง สว่างแห่งปัญญา เป็นหลักธรรมของ พระพุทธเจ้า
วงล้อแห่งธรรมะ ที่ มีการเคลื่อนไหวไม่ จบสิ้น
ภาพรปู กะโหลกหา้ หวั คอื ขันธ์ 5 ที่มีการลดตัดทอน รูปทรงให้เรียบง่ายด้วย การระบายสีแบนเรียบ และตัดเส้นแสดง รายละเอยี ดของภาพ
เบญจขันธ์ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อยู่อย่างไม่มีแก่นสาร รูป คือ ร่างกาย เวทนา คือ ความรู้สึก สญั ญา คอื ความจา สงั ขาร คอื ความคดิ คือ ความคิด และวิญญาณ
คือ การรู้แจ้งอารมณ์
ขันธ์ 5 มีการ เปลี่ยนแปลง แปรปรวนไม่มีที่สิ้นสุด
ตาสามตา คือกาลเวลา วาดภาพ 2 ตา ที่มีความ ลุกโชน และตาที่สามอยู่ ตรงกลางหน้าผาก ใช้ เทคนิคการไล่น้าหนักสีให้ เกิด 3 มิติ
ตาสามตา คือ อดีตกาล ปัจจุบันกาล และอนาคตกาล คือ ยึดถือในสัญญา ขันธ์ แสดงว่าถูกอดีตกัดกิน จิตใจ ให้เป็นทุกข์ ปัจจุบันกาล คือ ยึดเวทนา ซึ่งเป็นความรู้สึกติดในทุกข์ สุข ยึดมั่น ติดพัน เท่ากับกาลเวลาปัจจุบัน กัดกิน จิตใจให้เศร้าหมอง อนาคตกาล คือ ยึดในสังขารขันธ์ กังวลในอนาคต แสดงว่าถูกกาลเวลาอนาคตกัดกิน จิตใจเหมือนกัน
กําลเวลํา การยึด ติดเวลาอดีตปัจจุบัน อนาคตเป็นทุกข์
127