Page 205 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 205
โลกุตตระ หมายถึง ภาวะที่หลุดพ้นแล้วจากโลกิยะ ไม่เก่ียวข้องกับกามตัณหา ทิฐิ อวิชชาอีกต่อไป ได้แก่ ธรรม 9 ประการ เรียกว่า นวโลกุตรธรรมหรือโลกุตรธรรม 9 ได้แก่ อริยมรรค 4 อริยผล 4 นิพพาน 1
อริยมรรค 4 หมายถึง โสดาปัตติมรรค สกิทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค
อริยผล 4 หมายถึง โสดาปัตติผล สกิทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผล
นิพพําน หมายถึงการไม่กิเลสตัณหาท่ีจะร้อยรัดฟัดกระพือให้กระวนกระวายใจ อันเป็นจุดหมายสูงสุดของ
พระพุทธศาสนา
สิ่งที่ยังไม่มาถึง หมายถึงบรรดาเหตุการณ์ท้ังหลายท่ียังไม่เกิดข้ึน ยังเป็นอนาคตอยู่ การไม่คานึงถึงเหตุการณ์
เหล่านั้นในลักษณะวิตกกังวลเป็นทุกข์จนเสียการเสียงาน นับเป็นข้อปฏิบัติท่ีจาเป็นอย่างหนึ่งในพระพุทธศาสนา ช่วยให้ บุคคลมีใจสงบ มีสติอยู่กับงานเฉพาะหน้า งานการจึงสาเร็จลุล่วงไปด้วยความเรียบร้อย และการไม่คานึงถึงสิ่งที่ยังไม่มา ถึงน้ี มิใช่เป็นลักษณะนอนใจ หรือเฉ่ือยชาแต่อย่างใด ตรงกันข้ามเป็นลักษณะของคนที่มีสติ รู้ว่าอะไรควรทาในเวลาใด จึงจะสาเร็จประโยชน์ได้มากท่ีสุด เป็นเร่ืองของการวางแผนและปฏิบัติตามแผนด้วยความฉลาดนั่นเอง
สว่ นประเดน็ ทว่ี า่ ไมเ่ ศรา้ โศกถงึ สง่ิ ทลี่ ว่ งไปแลว้ กเ็ ปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งหนงึ่ ในพระพทุ ธศาสนา ทรงสอนใหพ้ ทุ ธบรษิ ทั อย่าคิดกังวลถึงส่ิงท่ีเป็นอดีต เพราะนั่นเป็นสิ่งที่ล่วงไปแล้ว ไม่มีความจาเป็นที่จะต้องสุขทุกข์หรือเศร้าโศกกันอีกต่อไป เมื่อทรงห้ามมิให้วิตกถึงอนาคตและอดีตแล้วเช่นน้ี พระพุทธองค์ทรงแนะนาให้ทุกคนทาปัจจุบันให้ดีให้สมบูรณ์ที่สุด เพราะปัจจุบันสาคัญกว่า
อน่ึง ทรงช้ีว่า ผู้เห็นความสงัดในผัสสะ คือความประจวบกันแห่งอายตนะภายใน กับอายตนะภายนอก และ วิญญาณ ย่อมจะไม่ถูกชักนาไปในทิฏฐิท้ังหลายด้วย ดังน้ี
ภาพการบาเพ็ญนวโลกุตรธรรมของคนในภาพ เป็นการปฏิบัติให้เข้าใจธรรมควบคู่การบาเพ็ญปัญญาบารมี เอาตวั เองใหพ้ น้ ทกุ ข์เอาชนะทกุ ข์ใหอ้ ยเู่หนอื สขุ เหนอื ทกุ ข์เปรยี บเทยี บบรรยากาศอนั สงบสงดั รม่ เยน็ ของพนื้ ทมี่ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เปน็ สถานทซี่ งึ่ มพี ระพทุ ธรปู ปางสมาธิ ประดษิ ฐานในตกึ อธกิ ารบดี ซงึ่ มงุ่ หมายถงึ พทุ ธะ (ผตู้ รสั รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน) ในสถานที่น้ีท่ีประกอบด้วยพืชพันธ์ุบัวกว่า 2,000 ชนิด ที่งดงามเป็นสัญลักษณ์ของการตรัสรู้แล้ว
แสดงภาพการบาเพ็ญนวโลกุตรธรรมท่ีสงบเงียบโดยการไปสู่โคนต้นไม้ ลาธาร ป่าเขา ธรรมชาติที่ร่มเย็นเป็นท่ี สัปปายะ เหมาะสมกับการปฏิบัติธรรม โลกุตรธรรม 9 เพ่ือให้เกิดความเห็นแจ้งสู่นิพพาน ซึ่งเป็นการหลุดพ้นจากโลกิยะ กามตัณหา ทิฐิ อวิชชาท้ังหลาย เกิดปัญญา เข้าใจในอริยสัจจ์ 4 โดยแท้จริง
195