Page 76 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 76

  2.3 เนื้อหําสําระภําพปริศนําธรรม
ภาพปรศิ นาธรรมในภาคใต้ดา เนนิ เนอื้ หาภาพในแนวพระราชนยิ มของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั แฝงอยใู่ นภาพปรศิ นาธรรม วตั รปฏบิ ตั ขิ องพระสงฆใ์ นพระไตรปฎิ ก ภาพเลา่ เรอื่ งหรอื เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ จรงิ ในประวตั ศิ าสตร์ ชีวิตความเป็นอยู่และขนบธรรมเนียมในสังคมเมืองสงขลา ในเวลาเดียวกันผู้เขียนก็จะคงแนวทางของจิตรกรรมประเพณี บางสว่ นเอาไวด้ ว้ ยการเขยี นภาพปรศิ นาธรรม แตล่ ดตดั ทอนรายละเอยี ดทจ่ี ะทา ใหภ้ าพเปน็ การชเี้ ฉพาะเจาะจงถงึ วรรณกรรม แนวประเพณี ช่วยให้ภาพแนวประเพณีสามารถผสมผสานกับแนวความคิดแบบใหม่ได้อย่างไม่ขัดแย้งมากนัก ด้วยเหตุนี้ จติ รกรรมฝาผนงั ในวดั โพธปิ์ ฐมมาวาส จงึ เขยี นขนึ้ ในระยะแรกของรชั กาลท่ี 4 อนั เปน็ ชว่ งหวั เลยี้ วหวั ตอ่ ของการเปลยี่ นแปลง รูปแบบศิลปะจากจิตรกรรมแบบประเพณีมาสู่จิตรกรรมแบบไทยเดิมประยุกต์ตะวันตก
เนื้อหาสาระภาพปริศนาธรรม ในจิตรกรรมฝาผนังวัดโพธ์ิปฐมาวาสประกอบด้วยเรื่องราวหลักธรรมคาสอน ของพุทธศาสนา ตามแบบแผนช่างหลวงภาคกลาง ดังเช่นวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ ผสมผสานกับช่างท้องถ่ินภาคใต้ คือ แนวเร่ืองปฏิจจสมุปบาท ธุดงค์ 13 อสุภะ 10 ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ วรรณคดีรามายณะ วรรณกรรมของท้องถ่ินภาคใต้ ดังปรากฏภาพประเพณีวัฒนธรรมการเผาศพและการฝังศพชาวจีน ชาวอิสลาม ชาวท้องถ่ินภาคใต้ช่างเขียนได้มีวิธีการ ถ่ายทอดเน้ือหาสาระดังกล่าวอย่างชาญฉลาดด้วยภาพจิตรกรรมในผนังเดียวกัน เพ่ือดึงดูดการรับรู้และความสนใจแก่ผู้ พบเห็น เปรียบเสมือนประโยคบอกเล่าท่ีจะทาให้พุทธศาสนิกชนหรือผู้สนใจหลักธรรมคาสอนของไตรลักษณ์ ในความ ไมเ่ ทยี่ งของสงั ขาร ทา ใหผ้ คู้ นไดเ้ รยี นรแู้ ละเขา้ ใจในพระพทุ ธศาสนาจากภาพจติ รกรรมฝาผนงั เพอื่ นา ไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ าม ในการดาเนินชีวิตในสังคมปัจจุบัน
ปรศิ นําธรรม เปน็ การแสดงความคดิ เหน็ ทแี่ ทรกปรศิ นา ชวนใหพ้ จิ ารณาความหมายในทางธรรม ทา ใหเ้ ขา้ ใจ ส่ิงต่าง ๆ ท้ังในทางท่ีดีและไม่ดี เปรียบดังเพ่ิมแสงประทีปข้ึนในจิตใจ ชีวิตและจิตวิญญาณของบุคคล (วรรณิภา ณ สงขลา, 2533: 70) ซ่ึงภาพดังกล่าวจะไม่อาจทาความเข้าใจได้ทันทีในขณะท่ีชม แต่จะต้องอาศัยการตีความและทาความเข้าใจ กับภาพเหล่าน้ัน จึงถือว่าภาพปริศนาธรรมเป็นกลอุบายอย่างหน่ึงในการสั่งสอนตามหลักธรรมของพระพุทธเจ้าดังปรากฏ เน้ือหาสาระภาพปริศนาธรรม ดังน้ี
1. ปฏิจจสมุปบําท
ปรากฏภาพปรศิ นาธรรมตามเนอื้ หาสาระภาพ ปฏจิ จสมปุ บาทผนงั ดา้ นทศิ ใตร้ ะหวา่ งชอ่ งหนา้ ตา่ ง ทงั้ สามชอ่ ง ของจิตรกรรมฝาผนังในวัดโพธ์ิปฐมมาวาส ด้วยเนื้อหาต่อเน่ืองและเช่ือมโยงกันเป็นการอธิบายหลักธรรมคาสอนด้วยภาพ มีองค์ประกอบเป็นภาพสัตว์ชนิดต่าง ๆ ทั้งประเภทจตุบาท ทวิบาท และเลื้อยคลานได้แก่ ช้าง กบ งู นก เน้ือหาของภาพ ปฏิจจสมุปบาท (วรรณิภา ณ สงขลา, 2534: 98) เขียนเป็นตอน ๆ ต่อเน่ืองกันเริ่มจากผนังด้านขวา (หันหน้าเข้าผนัง) เริ่มต้นด้วย
ภําพท่ี 1 ภาพกบภายในท้องกบมีช้าง และมีน้า 3 สระอยู่ในท้องช้าง หมายความว่า กบ คือ โลภะกลืนชาติ (ช้าง คือ ชาติ) ชาติกลืนตัณหาทั้งสาม (น้า 3 สระ) ได้แก่กามตัณหา หมายถึง ความทะยานอยากในกาม ได้แก่ กามคุณ ซ่ึงสนองความต้องการทางประสาทท้ังห้า คือ ตา หู จมูก ล้ิน กายภวตัณหา หมายถึงความทะยานอยากในภพได้แก่
  66
          


























































































   74   75   76   77   78