Page 53 - SMM 01-3
P. 53

วิธีการมาตรฐานสาหรับเครื่องมือแพทย์ SMM 01-3
2.4) ค่าความไม่แน่นอนเน่ืองจากอุณหภูมิแวดล้อม พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์ อุณหภูมิ (Temperature Coefficient) ซ่ึงถูกระบุไว้ในใบรายงานผลการสอบ เทียบไมโครโฟนมาตรฐานหรือหาข้อมูลจากผู้ผลิต โดยจะประเมินเป็นค่าเบี่ยงเบน ของอุณหภูมิขณะที่ทาการวัดจากอุณหภูมิอ้างอิง (Reference Temperature) คือ 23°C นอกจากนี้จะต้องพิจารณาองค์ประกอบอื่นๆที่เก่ียวข้องร่วมด้วย โดยสรุปค่าความไม่แน่นอนเน่ืองจากอุณหภูมิ มีส่วนประกอบดังนี้
- ความเบ่ียงเบนของอุณหภูมิขณะที่ทาการวัดจากอุณหภูมิอ้างอิง(23°C) (uSPL_T_DT)พจิ ารณาจากอณุ หภมู ขิ ณะทท่ี า การวดั หรอื อาจจะใชค้ า่ เบยี่ งเบน สูงสุดของอุณหภูมิที่ห้องปฏิบัติการควบคุม
- ความถูกต้องของค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ (uSPL_T_Coef) ข้อมูลสามารถหา ได้จากผู้ผลิต
- ความถกู ตอ้ งของเครอื่ งมอื วดั อณุ หภมู ิ (uSPL_T_ACC) พจิ ารณาจากคณุ สมบตั ิ ทางเทคนิคของเคร่ืองมือ
- ความละเอยี ดของสว่ นแสดงคา่ อณุ หภมู ขิ องเครอื่ งวดั อณุ หภมู ิ (uSPL_T_Res) ค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากอุณหภูมิแวดล้อม เป็นการกระจายข้อมูลแบบ
ส่ีเหลี่ยมผืนผ้า (Rectangular Distribution) ตัวอย่าง
- การประเมินค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากความเบี่ยงเบนของอุณหภูมิขณะ ที่ทาการวัดจากอุณหภูมิอ้างอิง (uSPL_T_DT) ห้องปฏิบัติการมีการควบคุมอุณหภูมิ ของห้องปฏิบัติการที่(23±3)°C และค่าสัมประสิทธ์ิอุณหภูมิที่ความถี่ 1kHz มีค่า เท่ากับ 0.0014 dB/°C การกระจายตัวของข้อมูลเป็นแบบส่ีเหลี่ยมผืนผ้า จึงหาร ด้วย 3
วิธีการสอบเทียบเคร่ืองตรวจสมรรถภาพการได้ยิน 45 แบบนําาเสียงผ่่านอากาศ ใช้้ร่วมกับหููฟัังช้นิดใส่ในช้่องหูู
  

























































































   51   52   53   54   55