Page 13 - KPI NEWGEN 65
P. 13
4. การจัดทําาป้าย QR Code
หลังจากท่ีมีการลงข้อมูลสุขภาพต้นยางนาในฐาน ข้อมูลของสําานักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ ส่วนวนวัฒนวิจัย ศูนย์วนวัฒนวจิ ัยท่ี 1 (เชียงใหม่) เรียบร้อยแล้ว กรมป่าไม้จะ จัดทําาป้าย QR Code ข้อมูลสุขภาพของต้นยางนาในแต่ละต้น พรอ้ มทง้ั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ใน QR Code อกี ครง้ั
5. การติดตังป้าย QR Code
ทีมมดงานและเครอ่ ข่าย ร่วมกันติดป้าย QR Code จาํา นวน 1,048 ต้น
ผลัผลั่ตโครงการ
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เชิงความพึงพอใจ
ผลัลััพิธิ์โครงการ
ผลผลิต
1. มีผู่้เข้าร่วมอบรมโครงการเพ่่อนชวนเพ่่อน จําานวน 78 คน 2. มีแผ่่นป้าย QR Code ข้อมูลต้นยางนา จําานวน 1,048 ต้น 3. วิดีโอแนะนําา “โครงการร่วมใจช่วยต้นยางนา” 1 คลิป
1. ผู่้เข้าร่วมอบรมโครงการเพ่่อนชวนเพ่อ่ นมีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับ ต้นยางนาอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 95 และระดับปานกลาง ร้อยละ 5 2. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลต้นยางนาโดยการสแกน QR Code เด่อนละ 190 ครั้ง
1. ผู่้เข้าอบรมโครงการเพ่่อนชวนเพ่่อนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี มาก ร้อยละ 90 ระดับดี ร้อยละ 6 และระดับปานกลาง ร้อยละ 4 2. ผู่้เข้าใช้งาน QR Code เพ่่อดูข้อมูลสุขภาพต้นยางนา มีค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจ ร้อยละ 86
1. มีแกนนําาเยาวชนทีมมดงานและเคร่อข่ายนักเรียนจาก 5 โรงเรียนที่ผ่่านการอบรมด้าน การตรวจสุขภาพต้นยางนา จําานวน 78 คน
2. มีฐานข้อมูลสุขภาพต้นยางนาของสําานักงานทรัพยากรกรมป่าไม้ท่ี 1 (เชียงใหม่) และจัดทําา QR Code จําานวน 1,048 ต้น
3. มีการติดตงั้ ป้าย QR Code จําานวน 1,048 แผ่่น
KPI NEW GEN
13
เยาวชนสร้้างสร้ร้ค์์นวัตกร้ร้มท้้องถิ่่น ปีี 2565