Page 19 - SMM-04_CriticalCareVentilators
P. 19

วิธีการมาตรฐานสําหรับเครื่องมือแพทย SMM 04-1
ปริมาณความดันหายใจเขาพิจารณาไดจากคาความดันเฉลี่ย 50 มิลลิวินาทีสุดทายใน ระยะสิ้นสุดการหายใจเขา หนวยของคาความดันหายใจเขา ไดแก เซนติเมตรน้ํา (cmH2O) มิลลิบาร (mbar) หรือเฮกโตปาสคาล (hPa) ขึ้นอยูกับการตั้งคาใชงานใน เคร่ืองชวยหายใจ
หมายเหตุ
การพิจารณาคาความดันหายใจเขา (PINSP) ใหยึดถือนิยามท่ีใหไวในวิธีมาตรฐานฉบับนี้เปน หลัก เครื่องชวยหายใจบางยี่หออาจกําหนดนิยามของคําวาความดันหายใจเขาแตกตาง ไปจากนิยามดังกลาวขางตน โดยมีการรวมเอาคาความดันบวกขณะสิ้นสุดระยะหายใจ ออก (PEEP) เขาเปนสวนหนึ่งของคาความดันหายใจเขา ในกรณีเชนนี้ การพิจารณาคา ความดันหายใจเขาใหหักคาความดันบวกขณะสิ้นสุดระยะหายใจออก (PEEP) ออกจากคา ความดันหายใจเขาที่ตั้งบนเคร่ืองชวยหายใจเสียกอน แลวใชคาผลตางน้ันเปนคาความดัน หายใจเขา (PINSP)
3.7 ความดันบวกขณะส้ินสุดระยะหายใจออก (positive end expiratory pressure, PEEP )
ความดันอากาศเหนือบรรยากาศที่เครื่องชวยหายใจควบคุมใหเกิดขึ้นภายใน ปอดในขณะสิ้นสุดระยะหายใจออก คาของปริมาณความดันบวกขณะสิ้นสุดระยะหายใจ ออกพิจารณาไดจากคาความดันเฉลี่ย 50 มิลลิวินาทีสุดทายในระยะสิ้นสุดการหายใจ ออก หนวยของคาความดันบวกขณะสิ้นสุดระยะหายใจออก ไดแก เซนติเมตรน้ํา (cmH2O) มิลลิบาร (mbar) หรือเฮกโตปาสคาล (hPa) ขึ้นอยูกับการตั้งคาใชงานใน เคร่ืองชวยหายใจ
 วิธีการสอบเทียบเคร่ืองชวยหายใจสําหรับผูปวยวิกฤติ 7




























































































   17   18   19   20   21