Page 35 - SMM-04_CriticalCareVentilators
P. 35

วิธีการมาตรฐานสําหรับเครื่องมือแพทย SMM 04-1
7.3 ขั้นตอนการสอบเทียบเคร่ืองชวยหายใจขณะทํางานในโหมดควบคุมปริมาตร
1) ติดตั้งแหลงจายแกส เครื่องชวยหายใจ วงจรหายใจ และปอดเทียมที่มีลักษณะ สมบัติตรงตามเงื่อนไขการสอบเทียบ เขากับเครื่องวิเคราะหการทํางานของ เครื่องชวยหายใจ หรือชุดเครื่องมือมาตรฐานสําหรับการสอบเทียบเครื่องชวย หายใจ ดังแสดงในรูปที่ 1
2) ปรับเคร่ืองชวยหายใจใหทํางานในโหมดควบคุมปริมาตรVC-CMVหรือโหมดท่ีมี การทํางานเทียบเทา
3) ในกรณีที่ทําได ปรับเลือกรูปแบบการควบคุมอัตราไหลใหเปนแบบสี่เหลี่ยม (rectangular)
4) ปรับการต้ังคาเครื่องชวยหายใจใหทํางานตรงตามเงื่อนไขการสอบเทียบที่กําหนด และรอกระท่ังเครื่องชวยหายใจทํางานอยูในสภาวะเสถียร
5) ในแตละรอบการทํางานของเครื่องชวยหายใจ บันทึกคาของพารามิเตอรการ หายใจทั้งจากสวนแสดงผลของเครื่องชวยหายใจ และจากเครื่องวิเคราะหการ ทํางานของเครื่องชวยหายใจ ใหไดจํานวน 30 คาติดตอกัน (𝑛𝑛𝑛𝑛 = 30) โดย ประกอบดวยพารามิเตอรการหายใจดังตอไปนี้(ดตูัวอยางแบบบันทึกผลการวัดได ในภาคผนวก ก)
ก. ปริมาตรหายใจเขา(VTI) ข. ปริมาตรหายใจออก(VTE)
ค. ความดันบวกขณะสิ้นสุดระยะหายใจออก (PEEP) และ
ง. ความเขมขนออกซิเจน(O2)
6) ทําซ้ําในขอ 4. ถึง 5. จนกระทั่งครบตามเงื่อนไขการสอบเทียบท่ีไดกําหนด
7) คํานวณผลการสอบเทียบ ตามวิธีการในหัวขอท่ี 8 (ดูตัวอยางตารางแสดงผลการ
คํานวณคาความคลาดเคลื่อนไดในภาคผนวก ข และตารางแสดงผลการสอบ
เทียบไดในหัวขอท่ี 9 )
8) ประเมินคาความไมแนนอนของผลการวัด (ดูแนวทางการประเมินความไมแนนอน
ไดในภาคผนวก ค)
วิธีการสอบเทียบเคร่ืองชวยหายใจสําหรับผูปวยวิกฤติ 23


















































































   33   34   35   36   37