Page 107 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 107

ศิลปะและคติความเชื่อ ในเคร่ืองประกอบพระราชพิธีพระบรมศพ
อาจารย์ ธนกฤต ลออสุวรรณ
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง
4
กํารสวรรคตของพระบําทสมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพลอดุลยเดช รัชกําลที่ ๙ นอกจําก จะนํามําซึ่งควํามวิปโยคโศกเศร้ําของเหล่ําพสกนิกรชําวไทยทุกหมู่เหล่ําแล้ว ยังเป็นเหตุให้ต้อง มีกํารจัดงํานพระรําชพิธีครั้งใหญ่สําหรับพระบรมศพ โดยถวํายพระเกียรติสูงสุดตํามโบรําณรําช ประเพณี ซึ่งในพระรําชพิธีคร้ังน้ีมีองค์ประกอบสําคัญหลํายอย่ําง ทั้งสิ่งที่คล้ํายคลึงกับที่เคยมีมํา ในงํานพระศพพระบรมวงศํานวุ งศช์ นั้ สงู ทเ่ี คยจดั มําแลว้ ในทศวรรษทผ่ี ํา่ นมํา และสงิ่ ทแ่ี ตกตํา่ งออกไป ด้วยเหตุผลหลํายประกําร
ดงั นนั้ ในบทควํามนจี้ ะกลํา่ วอธบิ ํายถงึ เครอื่ งประกอบตํา่ งๆ ในพระรําชพธิ บี ํา เพญ็ พระรําช กุศลพระบรมศพพระบําทสมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพลอดุลยเดช โดยเน้นที่ตัววัตถุ กํารจัดวําง ต้ังแต่ง ควํามหมํายควํามสําคัญของสิ่งเหล่ํานั้น ท้ังนี้จะกล่ําวถึงเฉพําะส่ิงที่ปรํากฏในมณฑลพิธีบน พระท่ีนั่งดุสิตมหําปรําสําท อันเป็นท่ีประดิษฐํานพระบรมศพ ตํามข้อมูลท่ีปรํากฏในห้วงระยะเวลํา ๑๐๐ วันหลังกํารสวรรคต ซ่ึงเป็นช่วงท่ีมีพระรําชพิธีบําเพ็ญพระรําชกุศล
มณฑลพิธีที่ประดิษฐานพระบรมศพในพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท
พระบรมศพขององค์พระมหํากษัตริย์จะต้องประดิษฐํานบน “พระมหําปรําสําท” เสมอ ซึ่ง พระมหําปรําสําทดงั กลํา่ วกค็ อื “พระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหําปรําสําท” ทพี่ ระบําทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟํา้ จฬุ ําโลก มหํารําช โปรดใหถ้ ํา่ ยแบบจํากพระทน่ี ง่ั สรุ ยิ ําสนอ์ มรนิ ทรท์ ก่ี รงุ ศรอี ยธุ ยํา มําสรํา้ งขนึ้ เมอ่ื พ.ศ.๒๓๓๒ (พระบําทสมเด็จพระจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว ๒๔๕๕: ๑๒๓, ๑๙๕)
กํารตงั้ แตง่ ภํายในพระทนี่ ง่ั สํา หรบั กํารพระรําชพธิ พี ระบรมศพพระบําทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหําภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในครงั้ นี้ มแี บบแผนคลํา้ ยคลงึ กบั ทไี่ ดเ้ คยกระทํา มําแลว้ สํา หรบั งํานพระบรมศพ ก่อนหน้ําน้ี แบ่งกํารจัดวํางเคร่ืองประกอบพระรําชพิธีพระบรมศพ ตํามพื้นที่ออกเป็น ๔ มุข ดังน้ี
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑๐5
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   105   106   107   108   109