Page 339 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 339
ประดับลํายแผงรําชวัตรดอกส่ีกลีบฉลุโปร่ง กึ่งกลํางแท่นประดับลํายหน้ํากําล ๓ ด้ําน เว้นด้ํานหน้ํา เหนือแท่นเท้ําสิงห์ประดับกระจังรําย รองรับด้วยฐํานบัวกลุ่มทรงสี่เหล่ียมสําหรับรองรับพระโกศ ด้ํานหน้ําและด้ํานหลังแท่นเท้ําสิงห์ประกอบด้วยเกริน ๑ ชั้น ตกแต่งด้วยกระหนกสําหรับภูษํามําลํา ขนึ้ ประคองพระโกศ ดํา้ นหนํา้ รําชรถมแี ทน่ ขําสงิ หท์ รงสเี่ หลยี่ มขนําดเลก็ สองขํา้ งประดบั ลํายหนํา้ กําล สําหรับพลขับนั่งหรือตั้งเครื่องบูชํา สี่มุมรําชรถมีที่สําหรับปักฉัตร
ส่งท้าย
พระมหําพชิ ยั รําชรถรําชรถพําหนะอญั เชญิ พระบรมศพจํากทปี่ ระดษิ ฐํานออกสพู่ ระเมรมุ ําศ เพอ่ื ถวํายพระเพลงิ ซงึ่ เปน็ กํารถวํายพระเกยี รตแิ กพ่ ระมหํากษตั รยิ แ์ ละพระบรมวงศํานวุ งศ์ ซง่ึ เสดจ็ สวรรคตแล้วตํามโบรําณรําชประเพณีแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยํา
พระมหําพิชัยรําชรถ เวชยันตรําชรถ และรําชรถน้อย ปัจจุบันเก็บรักษํา ณ โรงรําชรถ พิพิธภัณฑสถํานแห่งชําติ พระนคร สร้ํางขึ้นด้วยควํามวิจิตรประณีตแห่งภูมิปัญญํางํานศิลปกรรม ไม้จําหลักชั้นสูง ก่อนกํารเชิญรําชรถออกใช้แต่ละครําวจะมีพิธีกรรมกํารบวงสรวง และกํารบูรณะ เสริมควํามมั่นคง ลงรักปิดทองประดับกระจกเพ่ือให้รําชรถอยู่ในสภําพที่สมบูรณ์ นับเป็นมรดก ทํางวัฒนธรรมรําชประเพณีสําคัญของบรรพชนไทยที่ยังคงสืบทอดมําจวบจนปัจจุบัน
๑๖
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 33๗
เสด็จสู่แดนสรวง