Page 150 - Tsubomi
P. 150
บ้านเหมืองกุง อําาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่
บ้านเหมืองกุงเป็นหมู่บ้านเก่าแก่ของเชียงใหม่ เดิมมีช่ือว่า "บ้านสันดอกคาใต้" ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไต ท่ีถูกกวาดต้อนมาจากเมืองปุ เมืองสาด ซ่ึงเป็น เมืองโบราณของอาณาจักรล้านนาปัจจุบนัอยใู่นรัฐฉานประเทศพมา่ในเขตรัฐฉานของประเทศเมียนมาบรรพบรุุษที่มาตงั้รกรากอย่ทูบี่า้นเหมืองกงุในระยะแรกนั้น มีอาชีพทานา พอเข้าสู่ช่วงฤดูแล้งชาวบ้านจะขุดดินจากท่ีนาใกล้หมู่บ้านมาทา “น้าหม้อ” (ภาษาถ่ินหมายถึงหม้อน้าดื่ม) และ “น้าต้น” (ภาษาถิ่นหมายถึงคนโท) ไว้สาหรับใส่น้าดื่ม ซึ่งเป็นวิถีชีวิตที่สืบทอดต่อกันมานานกว่า 200 ปี ดังจะเห็นได้จากการปั้นน้าต้นและเคร่ืองปั้นดินเผาเพ่ือส่งขายท้ังในและนอกพ้ืนที่ รวมท้ัง การท่ีชาวบ้านวางน้าหม้อหรือน้าต้นไว้หน้าบ้านของตน เพื่อให้คนท่ีผ่านไปมาได้ดื่มแก้กระหาย จนได้ชื่อว่าเป็นหมู่บ้านแห่ง "ตานานน้าต้น คนป้ันดิน" ด้วยพื้นท่ีหมู่บ้านซึ่งเป็นที่ราบเหมาะแก่การทาเกษตรกรรมและมีดินเหนียวท่ีมีคุณภาพ ชาวบ้านเหมืองกุงในอดีตจึงทาเครื่องปั้นดินเผา โดยเฉพาะน้าต้นและ น้าหม้อ เพ่ือใช้ในครัวเรือน และนาไปใช้ในพิธีกรรม นาไปทาบุญและหากมีเหลือก็นาไปแลกเปลี่ยนหรือขายให้กับชาวบ้านท่ีอยู่ใกล้เคียง เพราะฉะน้ัน การผลิต น้าต้นจึงถือเป็นอาชีพหลักของชุมชนแห่งน้ี
การข้ึนรูปน้าต้นและน้าหม้อ ของชาวบ้านเหมืองกุงจะใช้ดินดานซ่ึงพบมากในเขตภาคเหนือนา มาขึ้นรูปด้วยจ๊าก (แท่นหมุนมือ) ซ่ึงทา มาจากไม้สักมีด้ามทาจาก ไม้ไผ่โดยก่อนท่ีจะปั้น ช่างปั้นจะนาดินดานมาตากให้แห้งแล้วนามาบดด้วยครกกระเดื่อง หลังจากน้ันก็นามาร่อนเอาแต่ดินท่ีละเอียดนาไปผสมกับน้าแล้วหมัก ท้ิงไว้หนึ่งคืน ก่อนจะนาไปปั้นข้ึนรูป เมื่อข้ึนรูปเสร็จก็ไปฉาบผิวด้วยดินแดงซึ่งมีส่วนผสมของน้ามันมะพร้าวหรือน้ามันดีเซล หลังจากนั้นท้ิงให้แห้งพอหมาดๆก่อน จะนามาขัดผิวด้วยหินเพ่ือลดความพรุนผิวและทาให้ผิวของเคร่ืองปั้นดินเผามีความเงางาม หลังจากนั้นก็นาไปผึ่งแดดให้แห้งสนิทก่อนนาไปเข้าเตาเผา บ้านเหมืองกุงมีเตาเผารวมของชุมชนกระจายตัวอยู่หลายจุด เม่ือช่างปั้นหลายๆ บ้านปั้นน้าต้นรวมกันจนเป็นจานวนมากพอ ก็จะนามาเผารวมกันที่เตาเผาใน อุณหภูมิประมาณ 800 - 1000 องศาเซลเซียส และใช้ฟืนจากเศษไม้ที่ได้มาจากการแกะสลักไม้ที่บ้านถวาย รวมท้ังไม้ลาไย หรือไม้แบบจากการก่อสร้าง อย่างไรกต็ าม ด้วยสภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป ช่างป้ันน้าตน้ ของชมุ ชนเหลอื เพียงผู้สูงอายุ ในขณะทคี่ นหนุ่มสาวเริ่มออกไปทางานนอกพน้ื ที่มากข้ึน ขณะเดียวกัน จา นวนประชากรทขี่ ยายตวั ทา ใหม้ กี ารรอื้ เตาเผาโบราณออกบางสว่ น เพอ่ื ใชพ้ นื้ ทมี่ าสรา้ งบา้ นเรอื น สว่ นผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งปน้ั ดนิ เผากเ็ รมิ่ มรี ปู แบบทหี่ ลากหลายมากขนึ้ จากทม่ี เี พยี งนา้ หมอ้ และนา้ ตน้ ชา่ งปน้ั กเ็ รมิ่ ผลติ ของตกแตง่ บา้ นและของทรี่ ะลกึ ตา่ งๆ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการทหี่ ลากหลายของกลมุ่ ลกู คา้ ซงึ่ เปน็ นกั ทอ่ งเทยี่ ว ซ่ึงก็ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกรรมวิธีในการผลิต จากการป้ันบนแท่นไม้ กลายเป็นแท่นป้ันมอเตอร์ไฟฟ้า ซึ่งช่วยให้ป้ันได้เร็วกว่า ผลผลิตต่อวันมากขึ้นกว่าเดิม
146 Tsubomi