Page 160 - Tsubomi
P. 160

 บ้านท่ากาน อําาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
บ้านท่ากานเป็นชุมชนที่ต้ังอยู่บริเวณพื้นท่ีโบราณสถานและคูเมืองเวียงท่ากาน ตาบลบ้านกลาง อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ชุมชนเป็นชาวไทยอง ท่ีอพยพมาจากเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศเมียนมา มาพร้อมกับศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ เช่น การแสดงดนตรีพื้นเมืองที่เรียกว่าก๋องมองเซิง อาหาร ขนม ภาษาและการแต่งตัว รวมถึงสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นแบบยอง ท่ีอพยพมาจากเมืองยองในประเทศเมียนมา และเข้ามาอาศัยในบริเวณเวียงท่ากาน เปน็ ระยะเวลากวา่ 200 ปี มาแลว้ ชาวยองเปน็ กลมุ่ คนทรี่ กั ทอ้ งถนิ่ ใหค้ วามสา คญั และรกั ษาวฒั นธรรมประเพณอี ยา่ งเครง่ ครดั กอ่ ใหเ้ กดิ การรวมกลมุ่ ทางวฒั นธรรม กันอย่างเหนียวแน่น ต่อเนื่อง และยาวนาน
คาพูดท่ีว่า "เงินอยู่ใต้น้า คาอยู่ใต้ดิน" ซึ่งหมายถึงรายได้ท่ีมาจากทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน แสดงถึงวิถีชีวิตของชาวบ้านท่ากานได้เป็นอย่างดี เพราะคนบ้าน ท่ากานส่วนใหญ่ยังดาเนินชีวิตตามแบบสังคมเกษตร ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาศัยอยู่ในสังคมชนบทที่เรียบง่าย มีความใกล้ชิดสนิทสนม กันภายในชุมชนเหมือนเครือญาติ คนในชุมชนก็ยังคงช่วยเหลือเกื้อกูลกันเป็นอย่างดี โดยมีวัดเป็นศูนย์รวมยึดเหนี่ยวจิตใจ ยามว่างเว้นจากการทาการเกษตร ก็ผลิตเคร่ืองจักสานวัสดุธรรมชาติในท้องถ่ิน เช่น สุ่มไก่ โคม และเคร่ืองเขินที่ทาจากไม้ไผ่ รวมทั้งกล่องข้าวและของตกแต่งบ้านอื่นๆ ท่ีทาจากใบลาน ซ่ึงหาได้ง่าย ในชุมชน
ในอดีต เครื่องมือเครื่องใช้จากไม้ไผ่และใบลานมักจะผลิตข้ึนเพื่อใช้ในครัวเรือน เพราะนอกจากจะเป็นวัสดุธรรมชาติที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นรอบตัวแล้ว ยังมีความ คงทน ไม่ชารุดเสียหายง่ายและไร้แมลงมาทาลาย ชาวบ้านท่ากาน จึงนาเอาจุดแข็งเหล่าน้ีมาผนวกกับความคิดสร้างสรรค์และทักษะในการจักสานท่ีไม่เหมือน ใคร กลายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีมีรูปแบบแปลกตา เป็นท่ีต้องการของตลาดและนักท่องเที่ยวมากข้ึน จนในท่ีสุด ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ก็กลายเป็นสินค้าหลักท่ีเพิ่ม รายได้ให้แก่ชุมชนอีกทางหน่ึง
 156 Tsubomi






























































































   158   159   160   161   162