Page 170 - Tsubomi
P. 170
บ้านก่ิวแลน้อย อําาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
บ้านก่ิวแลน้อยเป็นชุมชนชาวล้านนา ที่มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ก่อตั้งเม่ือราว พ.ศ. 2๔97 โดยบรรพบุรุษที่มีชื่อว่าพ่อบุญมี ในอดีตบ้านก่ิวแลน้อยเป็น พนื้ ทท่ี รุ กนั ดาร การคมนาคมไมส่ ะดวกนกั คนในชมุ ชนมอี าชพี รบั จา้ งทวั่ ไป บา้ งกร็ บั จา้ งทา ไรท่ า นา ในบางครง้ั กต็ อ้ งเดนิ ทางออกไปรบั จา้ งในชมุ ชนทหี่ า่ งไกล สว่ นตวั พ่อบุญมีเองก็ไม่ได้มีทรัพย์สมบัติใดติดตัวมา นอกจากวิชาแกะสลักไม้ท่ีสืบทอดมาจากบิดามารดา พ่อบุญมีจึงริเร่ิมการแกะสลักช้างจากไม้สักเพ่ือสร้างรายได้เล้ียง ครอบครัว และมีการส่งต่อไปยังคนอ่ืนๆ ในหมู่บ้าน จนกระทั่งการแกะสลักช้างไม้กลายเป็นอาชีพหลักของชุมชนบ้านกิ่วแลน้อย นอกเหนือจากอาชีพเกษตรกรรม สาเหตุท่ีชาวบ้านก่ิวแลน้อยนิยมใช้ไม้สักในการแกะสลักตัวช้าง ก็เพราะว่าไม้สักเป็นไม้ท่ีสวยงาม แกะสลักง่าย มีคุณสมบัติทนทานต่อมอดและปลวก จึงเลือกท่ีจะ นาไม้ชนิดนี้มาแกะสลักเป็นรูปช้าง สัตว์ประจา ท้องถ่ินที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตของชาวล้านนามาช้านาน อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันนี้ไม้สักมีจา นวนลดลง ทาให้หายากและ มีราคาแพงข้ึน ชาวบ้านกิ่วแลน้อย จึงใช้ไม้จามจุรี ไม้ฉาฉา หรือไม้ขนุน ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันมาแกะสลักแทน
ทุกวันนี้ บ้านกิ่วแลน้อยกลายเป็นแหล่งผลิตเครื่องเรือนและผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้านที่ทาจากไม้ ทักษะความชานาญด้านการแกะสลักไม้ที่ตกทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น กลายเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมให้คนในชุมชนสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
166 Tsubomi