Page 192 - TSUBOMI
P. 192
บ้านหนองเงือก อําาเภอป่าซาง จังหวัดลําาพูน
บา้ นหนองเงอื กเปน็ ชมุ ชนชาวยองทม่ี บี รรพบรุ ษุ เปน็ ชาวยองในมณฑลยนู นาน แควน้ สบิ สองปนั นา ประเทศจนี และอพยพมาตงั้ ถนิ่ ฐานทเี่ มอื งยอง ประเทศเมยี นมา ก่อนท่ีจะอพยพเข้ามาในภาคเหนือของประเทศไทยในยุคเก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง ราว พ.ศ. 23๔8 - 235๖ ซึ่งตรงกับสมัยของพระเจ้ากาวิละ โดยต้ังถิ่นฐาน ในท่ีราบลุ่มแม่น้าทา อ.ป่าซาง จ.ลาพูน กระจายตัวกันอยู่ในบ้านหนองเงือกปัจจุบัน ชาวยองโดยท่ัวไปจะมีความสามัคคีและช่วยเหลือเก้ือกูลกัน รวมทั้งยังรักษา อัตลักษณ์เฉพาะตัวไว้ได้อย่างดี ทั้งภาษายอง และวัฒนธรรมการทอผ้าฝ้ายท่ีมีการสืบทอดกันมาตั้งแต่ยุคโบราณ
ผ้าฝ้ายทอมือบ้านหนองเงือก มีลักษณะเด่นท่ีกระบวนการผลิตแบบธรรมชาติ ใช้แรงงานคนในทุกข้ันตอน และย้อมสีด้วยสีธรรมชาติเป็นหลัก และด้วยลักษณะ อันโดดเด่นนี้เอง ทาให้ในปัจจุบันบ้านหนองเงือกกลายเป็นเป็นแหล่งผลิตผ้าฝ้ายท่ีใหญ่ท่ีสุดในภาคเหนือ ชุมชนไม่มีการว่างงาน และสามารถพึ่งพาตนเองตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างย่ังยืน นอกจากนี้ยังได้รับคัดเลือกเป็นแกนนาหลักของเครือข่ายกลุ่มผ้าทอของจังหวัดลาพูนร่วมกับบ้านดอนหลวงด้วย ความสามารถในการทอผ้า บวกกับความคิดสร้างสรรค์ ทาให้ชาวยองในบ้านหนองเงือกสามารถคิดประดิษฐ์ลายผ้าใหม่ๆ โดยการเพิ่มรายละเอียดและสีสัน กลายเป็นลวดลายใหม่ เช่น ลายเกล็ดเต่าลูกอม ลายเกล็ดเต่าหมู่ ลายเกล็ดเต่าจิ๋ว ลายเกล็ดเต่าตา ลายดอกช้าง ลายดอกนก ลายดอกบัวเครือ ลายดอกขอลายไทย นอกจากน้ี ยังมีการประยุกต์ผ้าฝ้ายทอมือให้เป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบท่ีหลากหลาย เช่น เคร่ืองนุ่งห่ม ของใช้ ของประดับตกแต่ง รวมถึงของใช้ประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา เช่น ตุงปราสาท เป็นต้น
188 Tsubomi